กระดาษจากใยกล้วย
ที่มาและความสำคัญ
เนื่องจากโรงเรียนบ้านพระเพลิงเป็นโรงเรียนขยายโอกาสขนาดใหญ่ พื้นที่ของโรงเรียนด้านหลังใช้เป็นพื้นที่การเกษตรสำหรับปลูกผักสวนครัวรวมทั้งพืชต่างๆ อันประกอบด้วย ไผ่ และกล้วย ซึ่งคณะผู้จัดทำได้เล็งเห็นประโยชน์ของต้นกล้วย คือ เมื่อกล้วยแก่เต็มที่จนสามารถเก็บผลได้แล้ว ส่วนอื่นๆของต้นกล้วยก็จะถูกตัดทิ้งโดยไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์ก่อให้เกิดขยะเหลือใช้ อีกทั้งขยะที่มาจากกระดาษเหลือใช้ซึ่งมีจำนวนมากก่อให้เกิดมลภาวะของโรงเรียน สร้างปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมขึ้น
ดังนั้นคณะผู้จัดทำจึงมีแนวความคิดว่าหากนำส่วนต่างๆของต้นกล้วยมาแปรรูปเป็นกระดาษต่างๆในลักษณะเดียวกับกระดาษสาโดยจะผสมกับกระดาษใช้แล้ว จะสามารถลดปริมาณขยะที่มาจากกระดาษ นำกลับมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า รวมทั้งสามารถนำส่วนประกอบของต้นกล้วยมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ด้วย
จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
1. เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพของกระดาษจากใบกล้วยและต้นกล้วย
2.เพื่อศึกษาอัตราส่วนของลำต้นกล้วยต่อกระดาษเหลือใช้ ที่ทำให้กระดาษใยกล้วยมี
คุณภาพดีที่สุด
สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
1. กระดาษจากลำต้นกล้วยมีคุณภาพดีที่สุด
2.อัตราส่วน ลำต้นกล้วย ต่อ กระดาษเหลือใช้ เป็น 2 ต่อ 1 มีคุณภาพดีที่สุด
3.อัตราส่วน ลำต้นกล้วย ต่อ กระดาษเหลือใช้ เป็น 4 ต่อ 1 มีคุณภาพดีที่สุด
4.อัตราส่วน ลำต้นกล้วย ต่อ กระดาษเหลือใช้ เป็น 6 ต่อ 1 มีคุณภาพดีที่สุด
5.อัตราส่วน ลำต้นกล้วย ต่อ กระดาษเหลือใช้ เป็น 8 ต่อ 1 มีคุณภาพดีที่สุด
6.อัตราส่วน ลำต้นกล้วย ต่อ กระดาษเหลือใช้ เป็น 10 ต่อ 1 มีคุณภาพดีที่สุด
การกำหนดตัวแปร
- เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพของกระดาษจากใบกล้วยและต้นกล้วย
ตัวแปรต้น ส่วนประกอบของต้นกล้วย คือ ใบ และ ลำต้น
ตัวแปรตาม คุณภาพของกระดาษใยกล้วย
ตัวแปรควบคุม ปริมาณใบและลำต้น ปริมาณของกระดาษเหลือใช้ที่ผสม ชนิด
ของกระดาษ ระยะเวลาในการต้ม ระยะเวลาในการตากกระดาษใย
กล้วย ขนาดของตะแกรงร่อน ปริมาณน้ำ ปริมาณโซเดียม
ไฮดรอกไซด์
- เพื่อศึกษาอัตราส่วนของต้นกล้วยต่อกระดาษเหลือใช้ ที่ทำให้กระดาษใยกล้วยมีคุณภาพดีที่สุด
ตัวแปรต้น ปริมาณของลำต้นกล้วย
ตัวแปรตาม คุณภาพของกระดาษใยกล้วย
ตัวแปรควบคุม ปริมาณของกระดาษเหลือใช้ที่ผสม ชนิดของกระดาษเหลือใช้
ระยะเวลาในการต้ม ระยะเวลาในการตากกระดาษใยกล้วย ขนาด
ของตะแกรงร่อน ปริมาณน้ำ ปริมาณโซเดียมไฮดรอกไซด์
นิยามเชิงปฏิบัติการ
คุณภาพของกระดาษ หมายถึง กระดาษใยกล้วยมีความคงทน เหนียว ไม่ฉีกขาดง่าย สีสันสวยงาม ไม่ซีดจาง ดูดซึมน้ำได้น้อย
กระดาษเหลือใช้ หมายถึง กระดาษที่ใช้แล้ว สีขาว นำมาแช่น้ำแล้วปั่นให้ละเอียด
กระดาษใยกล้วย หมายถึง กระดาษที่ได้จากการนำส่วนประกอบของต้นกล้วย คือ ใบ และ ลำต้น มาปั่นรวมกับกระดาษแล้วตากแดดให้แห้งโดยการร่อนบนตะแกรง
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ลดปริมาณขยะที่เกิดจากกระดาษ
2.สามารถนำส่วนของต้นกล้วยมาใช้ให้เกิดประโยชน์
3.สามารถประดิษฐ์กระดาษนำมาใช้ห่อของขวัญต่างๆ หรือใช้ประโยชน์ดานต่างๆได้เอง
วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2552
โครงงานประดิษฐ์ดอกไม้
โครงงานประดิษฐ์ดอกไม้
ที่มาและความสำคัญในปัจจุบันธุรกิจหนึ่งที่สามารถสร้างรายได้ ส่งเป็นสินค้าออกเป็นที่ยอมรับของบุคคล ๆทั่วไป คือ สินค้าประเภทดอกไม้ประดิษฐ์ ซึ่งวัสดุที่ใช้ในการประดิษฐ์ สามารถนำวัสดุมากมายหลายชนิด หลากหลายสี มาประดิษฐ์ เช่น กระดาษ ผ้า พลาสติก โดยมีจุดประสงค์เพื่อการตกแต่งสถานที่ หรือโต๊ะทำงานให้เกิดความสวยงาม และนอกจากนี้ยังสามารถนำดอกไม้ประดิษฐ์จัดเป็นกระเช้าเพื่อมอบเป็นของขวัญหรือเป็นที่ระลึกให้กับบุคคลที่ เรารักและเคารพในโอกาสต่าง ๆ ๆด้เป็นอย่างดีในการประดิษฐ์ดอกไม้นอกจากจะนำเอาวัสดุที่กล่าวมาข้างต้นมาประดิษฐ์ ยังมีวัสดุชนิดหนึ่งที่นำมาประดิษฐ์ดอกไม้ได้ ซึ่งมีหลากหลายสี เพิ่มความสวยงามได้เป็นอย่างดี นั่นคือ ถุงน่องสี ถุงน่องสีเป็นวัสดุที่คนไทยนิยมนำมาประดิษฐ์ดอกไม้เพื่อสร้างรายได้และสามารถนำมาประดับตกแต่งเพื่อให้เกิ ดความสวยงามและนอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติในด้านความคงทนได้ ยืดหยุ่นได้ ไม่แตกหักดังนั้นจึงนำถุงน่องสีมาประดิษฐ์ดอกไม้เพื่อพัฒนาให้นักเรียนมีทักษะในการประดิษฐ์ดอกไม้และสามารถนำความร ู้ไปปฏิบัติเพื่อเป็นอาชีพสร้างรายได้ให้กับตัวเองและปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
วัตถุประสงค์ที่มาและความสำคัญในปัจจุบันธุรกิจหนึ่งที่สามารถสร้างรายได้ ส่งเป็นสินค้าออกเป็นที่ยอมรับของบุคคล ๆทั่วไป คือ สินค้าประเภทดอกไม้ประดิษฐ์ ซึ่งวัสดุที่ใช้ในการประดิษฐ์ สามารถนำวัสดุมากมายหลายชนิด หลากหลายสี มาประดิษฐ์ เช่น กระดาษ ผ้า พลาสติก โดยมีจุดประสงค์เพื่อการตกแต่งสถานที่ หรือโต๊ะทำงานให้เกิดความสวยงาม และนอกจากนี้ยังสามารถนำดอกไม้ประดิษฐ์จัดเป็นกระเช้าเพื่อมอบเป็นของขวัญหรือเป็นที่ระลึกให้กับบุคคลที่ เรารักและเคารพในโอกาสต่าง ๆ ๆด้เป็นอย่างดีในการประดิษฐ์ดอกไม้นอกจากจะนำเอาวัสดุที่กล่าวมาข้างต้นมาประดิษฐ์ ยังมีวัสดุชนิดหนึ่งที่นำมาประดิษฐ์ดอกไม้ได้ ซึ่งมีหลากหลายสี เพิ่มความสวยงามได้เป็นอย่างดี นั่นคือ ถุงน่องสี ถุงน่องสีเป็นวัสดุที่คนไทยนิยมนำมาประดิษฐ์ดอกไม้เพื่อสร้างรายได้และสามารถนำมาประดับตกแต่งเพื่อให้เกิ ดความสวยงามและนอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติในด้านความคงทนได้ ยืดหยุ่นได้ ไม่แตกหักดังนั้นจึงนำถุงน่องสีมาประดิษฐ์ดอกไม้เพื่อพัฒนาให้นักเรียนมีทักษะในการประดิษฐ์ดอกไม้และสามารถนำความร ู้ไปปฏิบัติเพื่อเป็นอาชีพสร้างรายได้ให้กับตัวเองและปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
1. เพื่อฝึกให้นักเรียนมีทักษะในการประดิษฐ์ดอกไม้
2. เพื่อให้นักเรียนสามารถประดิษฐ์ดอกไม้จากถุงน่องได้
อุปกรณ์
1. ถุงน่องสีต่าง ๆ
2. ลวดสีต่าง ๆ
3. กาว
4. กระดาษทิชชู
5. ด้าย
6. ฟลอร่าเทป
7. ท่อพลาสติก
8. อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีลักษณะกลมขนาดแตกต่างกัน เช่น ปากกา หลอดนม
ระยะเวลาดำเนินการ
วันที่
ขั้นตอนการประดิษฐ์
การทำกลีบดอก
1. ตัดลวดให้มีขนาดพอเหมาะกับวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ในการขดลวด
2. ขดลวดกับอุปกรณ์ คือ ท่อพลาสติก หรืออุปกรณ์อื่นที่มีลักษณะกลม ขนาดตามความต้องการของเรา
3. ตัดถุงน่องเป็นรูปสี่เหลี่ยมให้สามารถหุ้มขดลวดที่ขดเตรียมไว้
4. นำถุงน่องที่ตัดแล้วมาเข้ากลีบโดยนำมาหุ้มขดลวด ดึงให้ตรึงและรัดด้วยด้ายให้แน่น ปฏิบัติจนครบ 1 ดอก
การเข้ากลีบดอก
1.นำกลีบดอกที่เตรียมไว้แล้วมาเข้าดอก โดยใช้เกสรสีต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ซึ่งการเข้าดอกสามารถนำกลีบดอกมาเข้าตามความเหมาะสม เช่น 4 กลีบ 6 กลีบ 8 กลีบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของกลีบและความสวยงาม
2. การเข้ากลีบดอกละกลีบดอกจะต้องรัดด้วยด้ายให้แน่นทุกกลีบและเข้ากลีบลักษณะสับกลีบเพื่อให้เกิดความสวยงาม
3. ดัดกลีบดอกตามลักษณะที่เราต้องการ หรือตามลักษณะของดอกไม้
4. พันโคนกลีบดอกด้วยฟลอร่าเทปการทำใบ1. ตัดลวดสีเขียวหรือสีที่เราต้องการให้มีขนาดพอเหมาะหรือครึ่งหนึ่ง2. ขดลวดเข้ากับอุปกรณ์ที่มีลักษณะกลมเล็ก ๆหลาย ๆ รอบ แล้วดึงออก เส้นลวดที่ได้จะมีลักษณะหยัก จากนั้น ขดให้เป็นวงกลม3. ตัดถุงน่องสีเขียวให้มีขนาดพอเหมาะกับขดลวด สามารถห่อหุ้มขดลวดได้4. นำถุงน่องมาห่อหุ้มขดลวด ดึงให้ตึงและรัดด้วยด้ายให้แน่น จัดทำใบให้พอดีกับการเข้าช่อของดอกไม้5. พันโคนใบด้วยฟลอร่าเทป
การเตรียมก้าน
1. เตรียมลวดที่มีขนาดพอเหมาะไม่แข็งเกินไป ที่สามารถดัดได้
2. ตัดลวดให้มีความยาวพอเหมาะกับช่อที่เราต้องการ
3. เสริมลวดด้วยกระดาษทิชชู
4. พันด้วยฟลอร่าเทป
การเข้าช่อ
1. นำดอกไม้ที่เป็นรูปสำเร็จแล้วมาเข้าช่อ โดยจัดเข้าช่อตามความเหมาะสมพร้อมรัดด้วยด้ายให้แน่นเสมอ2. นำใบที่จัดเตรียมไว้แล้วเข้าช่อ จัดตามความเหมาะสม รัดด้วยด้ายให้แน่น
3. พันด้วยฟลอร่าเทป
ผลการศึกษา
ถุงน่องสีสามารถนำมาประดิษฐ์ดอกไม้ได้เป็นอย่างดีและมีความสวยงามไม่แพ้วัสดุ อุปกรณ์ชนิดอื่น ๆและนักเรียนสามารถจัดทำดอกไม้ประดิษฐ์จากถุงน่องได้โดยสามารถทำกลีบดอก ใบ และจัดเข้าช่อได้อย่างสวยงาม
สรุปผลการศึกษา
ดอกไม้ประดิษฐ์ที่เกิดจากการนำถุงน่องสีต่าง ๆ มาประดิษฐ์ตามขั้นตอนสามารถจัดทำกลีบดอกได้หลากหลายรูปแบบ เช่น กลีบเป็นวงกลม กลีบเป็นวงรี กลีบมีลักษณะแหลม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการของเรา หรือ จัดให้เหมือกลีบดอกไม้ตามธรรมชาติ การเข้าดอกสามารถนำกลีบดอกที่จัดเตรียมไว้มาเข้าดอกได้ตามความเหมาะสม เช่น 4 กลีบ 6 กลีบ 8 กลีบ
โครงงาน
โครงงานภาษาไทย เรื่อง นิทานพื้นบ้าน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ผู้แต่ง : นางเจียม สายกระสุน บ้านอันซอง นางพรม แสนกล้า บ้านถนนสำ โรง นางเกตุ แสงสุขใส บ้านหนองกระดาน ที่มา : จากการเล่าสืบต่อกันมาของบรรพบุรุษในสมัยโบราณ คณะผูจั้ดทำ ได้ทำ โครงงานเรื่องนิทานพื้นบ้าน ก็เพื่อเข้าใจในเนื้อหานิทาน มากขึ้น อีกทั้งเป็นการรักษาสมบัติของชาติ คือ นิทานพื้นบ้านคงอยู่ กับเยาวชนรุ่นหลังต่อไปอีกด้วย
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อศึกษานิทานพื้นบ้านให้เข้าใจง่ายยิ่งขึ้น ๒. เพื่อช่วยกันรักษาวัฒนธรรมประเพณีให้คงอยู่ต่อไป ๓. เพื่อจัดทำ หนังสือนิทานเพื่อให้เป็นรูปเล่ม
ขอบเขตของการศึกษา
ศึกษาหนังสือนิทานในห้องสมุดโรงเรียน และได้ทราบจากผู้เฒ่า คนแก่ ภายในหมู่ บ้านอันซอง บ้านถนนสำ โรง และบ้านหนองกระดาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ได้สมุดนิทาน ๑ เล่ม ๒. ได้วิธีการค้นหา และการจัดกลุ่มเพื่อนำ เสนอนิทาน ๓. ได้เรียนรู้เกี่ยวกับนิทานต่าง ๆ เกี่ยวกับคติสอนใจ ๔. ได้รับความรับผิดชอบกันภายในกลุ่มเพื่อน ๕. ได้ความรู้และความสนุกสนาน
บทที่๒
เอกสาร
๑. ศัพท์ที่ควรทราบ (เรียงตามลำ ดับเนื้อหา)
อันซาย หมายถึง กระต่าย ตะนอด หมายถึง ต้นตาล ซาเมา หมายถึง หญ้า อันเดอ หมายถึง เต่า ร้วดแข่ง หมายถึง วิ่งแข่ง เด๊ก หมายถึง นอน ชะเนีย หมายถึง ชนะ จ๊าย หมายถึง แพ้ โล๊วะ หมายถึง หลับ ตูมเรอย หมายถึง ช้าง คลา หมายถึง เสือ ซวา หมายถึง ลิง สัด หมายถึง สัตว์ โกนจ๊าบ หมายถึง นก โป้วะ หมายถึง งู รันเตี้ยบั๊ย หมายถึง ฟ้าผ่า เมี้ยกทะลิบ หมายถึง ฟ้าทะลัม ยี่ราฟ หมายถึง ยี่ราฟ เพชร หมายถึง ตกใจ ซะแร้ก หมายถึง ร้อง แซ็ะ หมายถึง ม้า
มางัย หมายถึง วันหนึ่ง กึดเตวมุน หมายถึง คิดไปก่อน มันเดงเรือง หมายถึง ไม่รู้เรื่อง เลิน ๆ หมายถึง เร็ว ๆ ปะจี๊ หมายถึง ถูกด่า เมื๊น หมายถึง ไก่ ซาลา หมายถึง ศาลา อั้ยเมื้น หมายถึง ขี้ไก่ ซะกอน หมายถึง นํ้าตาล กะหัก หมายถึง โกหก ลู๊ก หมายถึง พระ เวื้ด หมายถึง วัด นี่น หมายถึง เณร ฉลาด หมายถึง ฉลาด จองเชนี้ยะ หมายถึง อยากชนะ มานือโง่ หมายถึง คนโง่ จูด หมายถึง เช็ด สันดาน หมายถึง อุปนิสัยที่มีมาแต่กำ เนิด เห้าโมรัว หมายถึง เรียกมาพบ โมทา หมายถึง มา ด่า ว่า เทอโทด หมายถึง ทำ โทษ ยัววิง หมายถึง เอาคืน ซะออฟ หมายถึง เกลียด
๒. โครงงาน
๒.๑ ความหมาย แผนหรือเค้าโครงที่กำ หนดไว้ ๒.๒ ประเภท ๑. โครงงานประเภทสำ รวจและรวบรวมข้อมูล โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่มีวัตถุ ประสงค์เพื่อการสำ รวจ และรวบรวมข้อมูลจาการสำ รวจนั้นมาจำ แนกเป็นหมวดหมู่ และ นำ เสนอในรูปแบบต่าง ๆ อย่างมีระบบ เพื่อให้เห็นถึลักษณธหรือความสำ คัญของเรื่องดัง กล่าวได้ชัดเจนยิ่งขึ้น การปฏิบัติตามโครงงาน นี้ผู้เรียนจะต้องไปศึกษารวบรวมข้อมูล ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น สอบถาม สัมภาษณ์ สำ รวจ โดยใช้เครื่องมือ เช่น แบบสอบถาม แบบสำ รวจ แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก ฯลฯ โดยรวบรวม ข้อมูลที่ต้องการศึกษา ๒. โครงงานประเภทค้นคว้าทดลอง โครงงานประเภทนี่เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดย เฉพาะ การออกแบบโครงงานในการทดลองเพื่อเสนอความรู้ ทฤษฎี หลักการ แนวคิด ใหม่ ๆ เกี่ยวกับเรื่องหนึ่งที่ยังไม่มีใครคิดมาก่อน หลักหรือแนวคิดที่ต้องเสนอต้องผ่าน การพิสูจน์อย่างมีหลักการ ๓ . โครงงานเป็นการศึกษาความรู้ ทฤษฎีหลักการแนวคิดใหม่ โครงงานประเภทนี้เป็นโครงง งานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอความรู้ทฤษฎี หลักการแนวคิดใหม่ เกี่ยวกับเรื่องใด เรื่องนึ่ง ที่ยังไม่มีใครคิดมาก่อนหรือวิธีการที่น่าเชื่อถือตามกติกาาตามข้อที่กำ หนดขึ้นเอง หรืออาจ ใช้กติกาหรือข้อตกลงเดิมมาอธิบายข้อความรู้ ทฤษฎีหลักการและแนวคิดใหม่ก็ได้ ๔. โครงงานประดิษฐ์ โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์คือการนำ ความรู้ทฤษฎีหลักการหรือแนว คิดมาประยุกต์ใช้ โดยการประดิษฐ์เป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในการ เรียน การทำ งานหรือการใช้สอยอื่น ๆ การประดิษฐ์คิดค้น ตามโครงงานนี้อาจเป็นการ ประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่โดยยังไมี่ใครทำ หรืออาจเป้นการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือดัดแปลง ของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงกว่าที่เป็นอยู่ รวมทั้งการสร้างแบบจำ ลองต่าง ๆ เพื่อประกอบการอธิบายแนวคิดในเรื่องต่าง ๆ โครงงานที่ประดิษฐ์คิดค้นที่จะต้องครอบ คลุมเรื่องต่าง ๆ ทั้งวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา สังคม อาชีพ สิ่งแวด
บทที่ ๓
วิธีการศึกษาค้นคว้า
ศึกษานิทานจากนั้นแล้วก็เขียนคำ ศัพท์ ภาษาเขมร แปลเป็นภาษาไทย และอ่านความรู้ ประกอบเพิ่มเติมให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น
ขั้นตอนการดำ เนินงาน
๑. กำ หนดวิธีการและรวบรวมข้อมูลในเรื่องของนิทาน ๒. แบ่งงานกันในกลุ่ม ๓. ดำ เนินการจัดการวาดรูปตัวการ์ตูนต่าง ๆ ๔. นำ นิทานที่รวบรวมได้มารวมกัน จัดกลุ่มนิทาน และจัดเป็นสมุดนิทานพร้อมทั้ง ตรวจสอบ ความถูกต้อง ๕. การนำ เสนอโดยการจัดแสดงสมุดนิทานและประกอบการอธิบาย ประวัติโครงการ
ลำ ดับที่ รายการปฏิบัติ วิธีการ กำ หนดเวลา ผู้รับผิดชอบ
รวบรวมนิทานวาดรูปนิทานเรื่อง ต่าง ๆ นำ นิทานที่ได้มารวมกันแล้วจัด กลุ่มนิทาน จัดทำ รายงานโครงงาน เตรียมนำ เสนอ นำ เสนอ - สอบถามคนใน หมู่บ้าน - คิดเรื่องที่ได้นำ มาวาดภาพ ทุกคน โนรี ทุกคน ทุกคน เยาวลักษณ์ วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา เครื่องเขียน เช่น กระดาษ ดินสอ ปากกา
บทที่ ๔
ผลการศึกษาค้นคว้าและอภิปราย
มีรายละเอียดดังนี้
ผลการศึกษาค้นคว้าได้นิทนพื้นบ้าน 3 เรื่อง จาก 3 หมู่บ้าน คือ บ้านอันซอง , บ้านถนน, บ้านหนองกระดาน
๑. กระต่ายกับเต่า ณ. ป่าใหญ่แห่งหนึ่งมีกระต่ายกับเต่าคู่หนึ่งได้ท่าแข่งขันกันเพราะกระต่ายคิดว่าเต่า นั้นเดินช้าไม่สามารถที่จะวิ่งแข่งได้ชนะนเองหรอก พอรุ่งเช้าก็ได้ไปที่จุดเริ่มต้นโโยมีสัตว์ทั้ง หลายเป็นกรรมการตัดสิน เมื่อเริมแข่งกระต่ายก็นำ เต่าอยู่ไกลมาก จึงนอนพักใต้ต้นไม้ เพราะ คิดว่าอีกไกลที่เต่าจะมาถึงตนจึงหลับไปเวลานานสมควรกระต่ายก็ตื่นขึ้นมาและก็ได้เดินต่อไป โดยไม่รู้เลยว่าขณะที่มันหลับอยู่ เต่าได้วิ่งไปจนถึงเส้นชัยแล้ว และเมื่อกระต่ายไปถึงเส้นชัยก็ ได้พบว่าเต่าอยู่ตรงเส้นชัยแล้ว และการแข่งขันครั้งนี้เต่าก็เป็นผู้ชนะ
๒. กระต่ายตื่นตูม ณ ป่าแห่งหนึ่งมีกระต่ายตัวหนึ่งงนอนอยู่ใต้ต้นตาลนอนอยู่สักพักก็มีลูกตาลตกมาสู่ พื้นเสียงดังมาก กระต่ายตื่นขึ้นมาตกใจอย่างมากและคิดว่าฟ้าถล่ม จึงรีบวิ่งไปบอกสัตว์ป่าทั้ง หลาย ให้ออกไปจากป่าโดยเร็ว ทั้งก็ได้วิ่งออกไปอย่างรวดเร็ว โดยคิดว่าที่กระต่ายพูดนั้นเป็น ความจริง พออยูสั่กพักก็ไม่มีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น ก็เกิดอาการแปลกใจอย่างมาก แล้วสัตว์ป่า ก็พากระต่ายไปดูว่าเกิดอะไรขึ้นกันแน่ ก็ปรากฏว่าเห็นลูกตาลตกใกล้ที่พักของกระต่าย สัตว์ ป่าทั้งหลายก็โกรธกระต่ายมาก และก็ไม่มีใครเชื่อกระต่ายอีกต่อไป เรื่อง กระต่ายตื่นตูม เริงอันซายปะเออล เมียนโดปะมาโดปะ เมียนอันซายเนอวมาตู เดดเนอวกรอมดอมตะนอด เดดเนอว บานเดาะเมียนโกน ตะนอดเลียะอะดอยสะเลงคลัง อันซายกรอพีเดด ก็เพ็ดคลัง ๆ กึดถ่ามีตน องถะเลียะ เลยร่วดเตอวปราบสัตว์โดปะตองเอาะ ออยเจงปีโดปะเลิน ๆ ตองเอาะเลยร่อดเจงปี โดปะเลิน ๆ สัตว์โดปะกึดท่าแด่อันซอย ยอยกอดเรื่องเมนเตน พอเนอวบานมาเตาะเกาะ มันเมียนสาเดอย ก็เลยแปลกจอดคลัง ๆ จูบสัตว์โดปะก็ เนอมอันซายโดปะ เมอบอนเกิดเหต ถ้าเวียเกดสะเดอย ปรากดถ้าเขยผะแล โดงทะเลียะเนอว บอนอันซายเดด สัตว์โปะตั้งเลอะ ขอองอันซายคลัง ๆ จูยก้อมันเมียนอาราเจออันซายนะแต๊ก
๓. สมภารกับไก่วัด ณ วัดแห่งหนึ่งมีเณรกับหลวงพ่อทุก ๆ เช้า ก็จะไปบิณฑบาตรพอตอนกลับหลวงพ่อ เดินผ่านมาศาลาวัดพอดีก็พบไก่อยู่บนศาลาและไก่ก็ขี้บนศษลา หลวงพ่อโกรธเณรมากที่ไม่ ยอมไล่ไก่จึงเรียกเณรมาพบและต่อว่าทำ ไมไม่ไล่ไก่ และลงโทษให้เณรเช็ดขี้ไก่ให้หมด เช้า วันต่อมาเณรเกิดอยากที่จะแก้แค้นหลวงตา จึงคิดแผนว่าจะเอานํ้าตาลแดงคนให้ละลาย และ เอาไปหยดตามพื้นศษลา และพอหลงตาเดินผ่านก็ทำ เป็นเลียนํ้าตาที่หยดเอาไว้ หลวงตาจึง ถามว่า “เณรแกทำ อะไร” เณรตออบว่า “ฉันกำ ลังเลี่ยไก่” เพราะขี้ไก่มันหวานดีหลวงตา จึง เลียดูบ้างและก็ติดใจ และวันต่อมาหลวงตาพูดว่า “วันนี้ไม่ต้องกวาดเอง” พ่อเณรไปพ้น หลวง ตาก็จัดการเลียขี้ไก่ทั้งหมดทันที่ พอเณรรู้ก็สะใจมาก นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า คนโง่ย่อมเป็นเหยื่อของคนฉลาด เวี๊ยดมุ๋ยเมียนนี๋นเนื่องลูกเอาะกรบปารึกเนื๋องเต้วกูมบาตร เวียเสียล๋อมลูกเอาะผ่านโมบ้างศาลาเวี้ยดพอเจียเคยเมือน แน๋วเล้อศษลาเวียจุ๋ยเล้อศาลา ลูกเอาะจะเบอะนี๋นขล้างเต๋น วันยอมแด้งเมือน เลยออยโทษนี๋นจูดอั๊ยเมือนออยมอด ปารึกวัยต่อโมนี๋นเกิดจองเนื่องแก้แค้นลูกเอดาะขละ เลยกึ๋ดแผนทายั๋วซากอนกอนกาห้อมโกรออยสาเลียยั๋วเต้วเซราะ กะดานศาลา พอลูกเอดาะเตินผ่านโมก็เทอร์ดิลิตรซากอนแตนเซราะตุก ลูกเอลาะก็เลยตาแน่ว ทา นี๋นะเอวเทอร์เอ้อ นั้นตอบทา มาดลิตรอั๋ยเมือน ปารั๋วเวียปาแอมลูกเอราะจองลิตรขละนะ ลูกเอราะ เลยลิตรมื๋อขละก็เลยเจียบเจิ้ด พอวัยต่อโมลกเอราะอันเยียทาวัยเน้อมันบะบอเวี้ยดเต ลูกเอราะเน้อบอแอง พอนี๋นเต้วพ๋อดลูกเอราะก็จัดการลิตรอั๋วเมือนต๋องมอดเล้อ พอน๋นเต๋งก็ สะเจี๋ยดอย่างขล้าง
บทที่ ๕
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
จากการศึกษาค้นคว้าสามารถสรุปได้ว่าการศึกษา เรื่องนิทานพื้นบ้าน โดยการหา ความหมายของคำ ศัพท์ตามลำ ดับเนื้อหา จากการศึกษานิทานพื้นบ้าน ประวัติผู้แต่ง และแปล ความหมายจากภาษาเขมรเป็นภาษาไทยได้ และอ่านความรู้เพิ่มเติม จากหนังสือนิทานพื้นบ้าน ประกอบภาพจำ นวน 1 เล่ม ประโยชน์ที่ได้รับ
๑. ทำ ให้ทราบ ความเป็นมาของนิทานพื้นบ้าน และเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น ๒. ทำ ให้ทราบ คำ ศัพท์ ภาษาเขมร อีกหลายคำ
ข้อเสนอแนะ
๑. ควรเสนอขยายการศึกษา ค้นคว้าโดยการศึกษา เรื่องราวที่เป็นลักษณะคำ ประพันธ์ หรือร้อยกรองก็ได้ ๒. สามารถนำ มาทดสอบปรับปรุงแก้ไข จนสามารถนำ มาใช้ในการเรียน วิชาภาษาไทย
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ผู้แต่ง : นางเจียม สายกระสุน บ้านอันซอง นางพรม แสนกล้า บ้านถนนสำ โรง นางเกตุ แสงสุขใส บ้านหนองกระดาน ที่มา : จากการเล่าสืบต่อกันมาของบรรพบุรุษในสมัยโบราณ คณะผูจั้ดทำ ได้ทำ โครงงานเรื่องนิทานพื้นบ้าน ก็เพื่อเข้าใจในเนื้อหานิทาน มากขึ้น อีกทั้งเป็นการรักษาสมบัติของชาติ คือ นิทานพื้นบ้านคงอยู่ กับเยาวชนรุ่นหลังต่อไปอีกด้วย
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อศึกษานิทานพื้นบ้านให้เข้าใจง่ายยิ่งขึ้น ๒. เพื่อช่วยกันรักษาวัฒนธรรมประเพณีให้คงอยู่ต่อไป ๓. เพื่อจัดทำ หนังสือนิทานเพื่อให้เป็นรูปเล่ม
ขอบเขตของการศึกษา
ศึกษาหนังสือนิทานในห้องสมุดโรงเรียน และได้ทราบจากผู้เฒ่า คนแก่ ภายในหมู่ บ้านอันซอง บ้านถนนสำ โรง และบ้านหนองกระดาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ได้สมุดนิทาน ๑ เล่ม ๒. ได้วิธีการค้นหา และการจัดกลุ่มเพื่อนำ เสนอนิทาน ๓. ได้เรียนรู้เกี่ยวกับนิทานต่าง ๆ เกี่ยวกับคติสอนใจ ๔. ได้รับความรับผิดชอบกันภายในกลุ่มเพื่อน ๕. ได้ความรู้และความสนุกสนาน
บทที่๒
เอกสาร
๑. ศัพท์ที่ควรทราบ (เรียงตามลำ ดับเนื้อหา)
อันซาย หมายถึง กระต่าย ตะนอด หมายถึง ต้นตาล ซาเมา หมายถึง หญ้า อันเดอ หมายถึง เต่า ร้วดแข่ง หมายถึง วิ่งแข่ง เด๊ก หมายถึง นอน ชะเนีย หมายถึง ชนะ จ๊าย หมายถึง แพ้ โล๊วะ หมายถึง หลับ ตูมเรอย หมายถึง ช้าง คลา หมายถึง เสือ ซวา หมายถึง ลิง สัด หมายถึง สัตว์ โกนจ๊าบ หมายถึง นก โป้วะ หมายถึง งู รันเตี้ยบั๊ย หมายถึง ฟ้าผ่า เมี้ยกทะลิบ หมายถึง ฟ้าทะลัม ยี่ราฟ หมายถึง ยี่ราฟ เพชร หมายถึง ตกใจ ซะแร้ก หมายถึง ร้อง แซ็ะ หมายถึง ม้า
มางัย หมายถึง วันหนึ่ง กึดเตวมุน หมายถึง คิดไปก่อน มันเดงเรือง หมายถึง ไม่รู้เรื่อง เลิน ๆ หมายถึง เร็ว ๆ ปะจี๊ หมายถึง ถูกด่า เมื๊น หมายถึง ไก่ ซาลา หมายถึง ศาลา อั้ยเมื้น หมายถึง ขี้ไก่ ซะกอน หมายถึง นํ้าตาล กะหัก หมายถึง โกหก ลู๊ก หมายถึง พระ เวื้ด หมายถึง วัด นี่น หมายถึง เณร ฉลาด หมายถึง ฉลาด จองเชนี้ยะ หมายถึง อยากชนะ มานือโง่ หมายถึง คนโง่ จูด หมายถึง เช็ด สันดาน หมายถึง อุปนิสัยที่มีมาแต่กำ เนิด เห้าโมรัว หมายถึง เรียกมาพบ โมทา หมายถึง มา ด่า ว่า เทอโทด หมายถึง ทำ โทษ ยัววิง หมายถึง เอาคืน ซะออฟ หมายถึง เกลียด
๒. โครงงาน
๒.๑ ความหมาย แผนหรือเค้าโครงที่กำ หนดไว้ ๒.๒ ประเภท ๑. โครงงานประเภทสำ รวจและรวบรวมข้อมูล โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่มีวัตถุ ประสงค์เพื่อการสำ รวจ และรวบรวมข้อมูลจาการสำ รวจนั้นมาจำ แนกเป็นหมวดหมู่ และ นำ เสนอในรูปแบบต่าง ๆ อย่างมีระบบ เพื่อให้เห็นถึลักษณธหรือความสำ คัญของเรื่องดัง กล่าวได้ชัดเจนยิ่งขึ้น การปฏิบัติตามโครงงาน นี้ผู้เรียนจะต้องไปศึกษารวบรวมข้อมูล ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น สอบถาม สัมภาษณ์ สำ รวจ โดยใช้เครื่องมือ เช่น แบบสอบถาม แบบสำ รวจ แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก ฯลฯ โดยรวบรวม ข้อมูลที่ต้องการศึกษา ๒. โครงงานประเภทค้นคว้าทดลอง โครงงานประเภทนี่เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดย เฉพาะ การออกแบบโครงงานในการทดลองเพื่อเสนอความรู้ ทฤษฎี หลักการ แนวคิด ใหม่ ๆ เกี่ยวกับเรื่องหนึ่งที่ยังไม่มีใครคิดมาก่อน หลักหรือแนวคิดที่ต้องเสนอต้องผ่าน การพิสูจน์อย่างมีหลักการ ๓ . โครงงานเป็นการศึกษาความรู้ ทฤษฎีหลักการแนวคิดใหม่ โครงงานประเภทนี้เป็นโครงง งานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอความรู้ทฤษฎี หลักการแนวคิดใหม่ เกี่ยวกับเรื่องใด เรื่องนึ่ง ที่ยังไม่มีใครคิดมาก่อนหรือวิธีการที่น่าเชื่อถือตามกติกาาตามข้อที่กำ หนดขึ้นเอง หรืออาจ ใช้กติกาหรือข้อตกลงเดิมมาอธิบายข้อความรู้ ทฤษฎีหลักการและแนวคิดใหม่ก็ได้ ๔. โครงงานประดิษฐ์ โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์คือการนำ ความรู้ทฤษฎีหลักการหรือแนว คิดมาประยุกต์ใช้ โดยการประดิษฐ์เป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในการ เรียน การทำ งานหรือการใช้สอยอื่น ๆ การประดิษฐ์คิดค้น ตามโครงงานนี้อาจเป็นการ ประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่โดยยังไมี่ใครทำ หรืออาจเป้นการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือดัดแปลง ของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงกว่าที่เป็นอยู่ รวมทั้งการสร้างแบบจำ ลองต่าง ๆ เพื่อประกอบการอธิบายแนวคิดในเรื่องต่าง ๆ โครงงานที่ประดิษฐ์คิดค้นที่จะต้องครอบ คลุมเรื่องต่าง ๆ ทั้งวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา สังคม อาชีพ สิ่งแวด
บทที่ ๓
วิธีการศึกษาค้นคว้า
ศึกษานิทานจากนั้นแล้วก็เขียนคำ ศัพท์ ภาษาเขมร แปลเป็นภาษาไทย และอ่านความรู้ ประกอบเพิ่มเติมให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น
ขั้นตอนการดำ เนินงาน
๑. กำ หนดวิธีการและรวบรวมข้อมูลในเรื่องของนิทาน ๒. แบ่งงานกันในกลุ่ม ๓. ดำ เนินการจัดการวาดรูปตัวการ์ตูนต่าง ๆ ๔. นำ นิทานที่รวบรวมได้มารวมกัน จัดกลุ่มนิทาน และจัดเป็นสมุดนิทานพร้อมทั้ง ตรวจสอบ ความถูกต้อง ๕. การนำ เสนอโดยการจัดแสดงสมุดนิทานและประกอบการอธิบาย ประวัติโครงการ
ลำ ดับที่ รายการปฏิบัติ วิธีการ กำ หนดเวลา ผู้รับผิดชอบ
รวบรวมนิทานวาดรูปนิทานเรื่อง ต่าง ๆ นำ นิทานที่ได้มารวมกันแล้วจัด กลุ่มนิทาน จัดทำ รายงานโครงงาน เตรียมนำ เสนอ นำ เสนอ - สอบถามคนใน หมู่บ้าน - คิดเรื่องที่ได้นำ มาวาดภาพ ทุกคน โนรี ทุกคน ทุกคน เยาวลักษณ์ วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา เครื่องเขียน เช่น กระดาษ ดินสอ ปากกา
บทที่ ๔
ผลการศึกษาค้นคว้าและอภิปราย
มีรายละเอียดดังนี้
ผลการศึกษาค้นคว้าได้นิทนพื้นบ้าน 3 เรื่อง จาก 3 หมู่บ้าน คือ บ้านอันซอง , บ้านถนน, บ้านหนองกระดาน
๑. กระต่ายกับเต่า ณ. ป่าใหญ่แห่งหนึ่งมีกระต่ายกับเต่าคู่หนึ่งได้ท่าแข่งขันกันเพราะกระต่ายคิดว่าเต่า นั้นเดินช้าไม่สามารถที่จะวิ่งแข่งได้ชนะนเองหรอก พอรุ่งเช้าก็ได้ไปที่จุดเริ่มต้นโโยมีสัตว์ทั้ง หลายเป็นกรรมการตัดสิน เมื่อเริมแข่งกระต่ายก็นำ เต่าอยู่ไกลมาก จึงนอนพักใต้ต้นไม้ เพราะ คิดว่าอีกไกลที่เต่าจะมาถึงตนจึงหลับไปเวลานานสมควรกระต่ายก็ตื่นขึ้นมาและก็ได้เดินต่อไป โดยไม่รู้เลยว่าขณะที่มันหลับอยู่ เต่าได้วิ่งไปจนถึงเส้นชัยแล้ว และเมื่อกระต่ายไปถึงเส้นชัยก็ ได้พบว่าเต่าอยู่ตรงเส้นชัยแล้ว และการแข่งขันครั้งนี้เต่าก็เป็นผู้ชนะ
๒. กระต่ายตื่นตูม ณ ป่าแห่งหนึ่งมีกระต่ายตัวหนึ่งงนอนอยู่ใต้ต้นตาลนอนอยู่สักพักก็มีลูกตาลตกมาสู่ พื้นเสียงดังมาก กระต่ายตื่นขึ้นมาตกใจอย่างมากและคิดว่าฟ้าถล่ม จึงรีบวิ่งไปบอกสัตว์ป่าทั้ง หลาย ให้ออกไปจากป่าโดยเร็ว ทั้งก็ได้วิ่งออกไปอย่างรวดเร็ว โดยคิดว่าที่กระต่ายพูดนั้นเป็น ความจริง พออยูสั่กพักก็ไม่มีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น ก็เกิดอาการแปลกใจอย่างมาก แล้วสัตว์ป่า ก็พากระต่ายไปดูว่าเกิดอะไรขึ้นกันแน่ ก็ปรากฏว่าเห็นลูกตาลตกใกล้ที่พักของกระต่าย สัตว์ ป่าทั้งหลายก็โกรธกระต่ายมาก และก็ไม่มีใครเชื่อกระต่ายอีกต่อไป เรื่อง กระต่ายตื่นตูม เริงอันซายปะเออล เมียนโดปะมาโดปะ เมียนอันซายเนอวมาตู เดดเนอวกรอมดอมตะนอด เดดเนอว บานเดาะเมียนโกน ตะนอดเลียะอะดอยสะเลงคลัง อันซายกรอพีเดด ก็เพ็ดคลัง ๆ กึดถ่ามีตน องถะเลียะ เลยร่วดเตอวปราบสัตว์โดปะตองเอาะ ออยเจงปีโดปะเลิน ๆ ตองเอาะเลยร่อดเจงปี โดปะเลิน ๆ สัตว์โดปะกึดท่าแด่อันซอย ยอยกอดเรื่องเมนเตน พอเนอวบานมาเตาะเกาะ มันเมียนสาเดอย ก็เลยแปลกจอดคลัง ๆ จูบสัตว์โดปะก็ เนอมอันซายโดปะ เมอบอนเกิดเหต ถ้าเวียเกดสะเดอย ปรากดถ้าเขยผะแล โดงทะเลียะเนอว บอนอันซายเดด สัตว์โปะตั้งเลอะ ขอองอันซายคลัง ๆ จูยก้อมันเมียนอาราเจออันซายนะแต๊ก
๓. สมภารกับไก่วัด ณ วัดแห่งหนึ่งมีเณรกับหลวงพ่อทุก ๆ เช้า ก็จะไปบิณฑบาตรพอตอนกลับหลวงพ่อ เดินผ่านมาศาลาวัดพอดีก็พบไก่อยู่บนศาลาและไก่ก็ขี้บนศษลา หลวงพ่อโกรธเณรมากที่ไม่ ยอมไล่ไก่จึงเรียกเณรมาพบและต่อว่าทำ ไมไม่ไล่ไก่ และลงโทษให้เณรเช็ดขี้ไก่ให้หมด เช้า วันต่อมาเณรเกิดอยากที่จะแก้แค้นหลวงตา จึงคิดแผนว่าจะเอานํ้าตาลแดงคนให้ละลาย และ เอาไปหยดตามพื้นศษลา และพอหลงตาเดินผ่านก็ทำ เป็นเลียนํ้าตาที่หยดเอาไว้ หลวงตาจึง ถามว่า “เณรแกทำ อะไร” เณรตออบว่า “ฉันกำ ลังเลี่ยไก่” เพราะขี้ไก่มันหวานดีหลวงตา จึง เลียดูบ้างและก็ติดใจ และวันต่อมาหลวงตาพูดว่า “วันนี้ไม่ต้องกวาดเอง” พ่อเณรไปพ้น หลวง ตาก็จัดการเลียขี้ไก่ทั้งหมดทันที่ พอเณรรู้ก็สะใจมาก นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า คนโง่ย่อมเป็นเหยื่อของคนฉลาด เวี๊ยดมุ๋ยเมียนนี๋นเนื่องลูกเอาะกรบปารึกเนื๋องเต้วกูมบาตร เวียเสียล๋อมลูกเอาะผ่านโมบ้างศาลาเวี้ยดพอเจียเคยเมือน แน๋วเล้อศษลาเวียจุ๋ยเล้อศาลา ลูกเอาะจะเบอะนี๋นขล้างเต๋น วันยอมแด้งเมือน เลยออยโทษนี๋นจูดอั๊ยเมือนออยมอด ปารึกวัยต่อโมนี๋นเกิดจองเนื่องแก้แค้นลูกเอดาะขละ เลยกึ๋ดแผนทายั๋วซากอนกอนกาห้อมโกรออยสาเลียยั๋วเต้วเซราะ กะดานศาลา พอลูกเอดาะเตินผ่านโมก็เทอร์ดิลิตรซากอนแตนเซราะตุก ลูกเอลาะก็เลยตาแน่ว ทา นี๋นะเอวเทอร์เอ้อ นั้นตอบทา มาดลิตรอั๋ยเมือน ปารั๋วเวียปาแอมลูกเอราะจองลิตรขละนะ ลูกเอราะ เลยลิตรมื๋อขละก็เลยเจียบเจิ้ด พอวัยต่อโมลกเอราะอันเยียทาวัยเน้อมันบะบอเวี้ยดเต ลูกเอราะเน้อบอแอง พอนี๋นเต้วพ๋อดลูกเอราะก็จัดการลิตรอั๋วเมือนต๋องมอดเล้อ พอน๋นเต๋งก็ สะเจี๋ยดอย่างขล้าง
บทที่ ๕
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
จากการศึกษาค้นคว้าสามารถสรุปได้ว่าการศึกษา เรื่องนิทานพื้นบ้าน โดยการหา ความหมายของคำ ศัพท์ตามลำ ดับเนื้อหา จากการศึกษานิทานพื้นบ้าน ประวัติผู้แต่ง และแปล ความหมายจากภาษาเขมรเป็นภาษาไทยได้ และอ่านความรู้เพิ่มเติม จากหนังสือนิทานพื้นบ้าน ประกอบภาพจำ นวน 1 เล่ม ประโยชน์ที่ได้รับ
๑. ทำ ให้ทราบ ความเป็นมาของนิทานพื้นบ้าน และเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น ๒. ทำ ให้ทราบ คำ ศัพท์ ภาษาเขมร อีกหลายคำ
ข้อเสนอแนะ
๑. ควรเสนอขยายการศึกษา ค้นคว้าโดยการศึกษา เรื่องราวที่เป็นลักษณะคำ ประพันธ์ หรือร้อยกรองก็ได้ ๒. สามารถนำ มาทดสอบปรับปรุงแก้ไข จนสามารถนำ มาใช้ในการเรียน วิชาภาษาไทย
วันอังคารที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2551
Anti Virus (หลอก) ไว้ใช้เอง
การสร้าง AntiVirusใช้เอง(แนวคิด)------------------------------------------------------การสร้างไวรัสเทียมขึ้นมาเป็นสิ่งจำเป็น..ตราบใดที่ยังมีการสร้างไวรัสขึ้นมาเพื่อเห็นแก่ความสนุกเมื่อได้แกล้งคนอื่นเขาหรือเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง------------------------------------------------------------------------------------ไวรัสก็คือไฟล์สคิ๊ปคำสั่งที่ไม่ธรรมดา เพราะถูกออกแบบมาเป็นพิเศษ เพื่อสร้างความเสียหายให้กับข้อมูลและระบบปฏิบัติการโดยเฉพาะ เช่น เมื่อเครื่องใครติดเชื้อแล้ว ระบบAutoของไวรัสจะทำงาน เข้าไปลบข้อมูลสำคัญที่เราเก็บไว้(หายไปอย่างไร้ร่องรอย หาไม่เจอ)หรือเข้าไปลบหรือเปลี่ยนแปลงสคิ๊ปไฟล์สำคัญต่อการทำงานของระบบปฏิบัติการ ทำให้ไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ และอื่นๆอีกมากมาย แล้วแต่คนสร้างไวรัส ว่าต้องการสร้างความเสียหายให้ในลักษณะไหน ไวรัสบางชนิดก็ฉลาด สามารถพลางตัวเองไม่ให้เราเห็นได้ และมีไวรัสพันธ์ใหม่ๆเกิดขึ้นเรื่อยๆ จึงยากที่จะขจัดให้หมดไป...---------------------------------------------การสร้างไวรัสเทียม ไว้คอยดักทุบ ไวรัสแท้ (แรงไปหรือเปล่าก็ไม่รู้)----------------------------------------------------------------------1.เริ่มจากให้ท่านสร้างไวรัสเทียมขึ้นมาก่อน โดยการเปิดNotepadขึ้นมา เสร็จแล้วคลิ๊กที่File..Save As..ใส่ชื่อ-สกุลไวรัสลงไป ในที่นี้สมมุติว่าเป็น Flashy.exeก็แล้วกัน คลิ๊กSaveเสร็จแล้วให้นำไฟล์ไปวางไว้ในพื้นที่เป้าหมาย3จุด ได้แก่ 1.C:\ 2.C:\Windowsและ3.C:\Windows\System32แต่ในระหว่างนำไฟล์ไปวางในพื้นที่เป้าหมาย แล้วมีหน้าต่างReplaceขึ้นมา แสดงว่า ท่านเจอไวรัสตัวจริงเข้าแล้ว ให้ตอบYesเพื่อวางทับเสร็จแล้ว ให้คลิ๊กขวาที่ไฟล์นั้น ใช้คำสั่งDeleteลบไฟล์ที่วางทับนั้นทิ้งไป และคลิ๊กขวาบนพื้นที่ว่าง ใช้คำสั่งPlsteเพื่อวางไฟล์อีกครั้ง2.เปิดNotepadขึ้นมาอีกครั้ง เพื่อสร้างไฟล์แบท โดยพิมพ์คำสั่งลงไปดังนี้..-------------------------------------------------------------------------------------------------------------del C:\Flashy.exedel C:\Windows\Flashy.exedel C:\Windows\System32\Flashy.exe--------------------------------------------------------------------------------------------------------------
แก้ไข Canon MP160,MP145 ไฟแจ้ง E5,E2
CANON MP160,150,145
CANON MP160,150 แจ้ง E5 1. ถอดปลั๊กปิดเครื่อง กุดปุ่ม power ค้างไว้ แล้วเสียบปลั๊ก จากนั้นให้กดปุ่ม Stop/Reset 2 ครั้ง แล้วปล่อยพร้อมกัน 2. ให้รอเครื่องนิ่ง หน้าจอจะขึ้น 0 ให้กด + ให้ขึ้น 1 แล้วกด Color 2 ครั้ง เครื่องจะดึงไปพิมพ์ 1 แผ่น หลังจากเครื่องพิมพ์แล้ว 3. เปิดฝาเครื่อง ดึงปลั๊กออก แล้วดึง ตลับหมึกออก จากนั้นปิดฝา แล้วเสียบปลั๊ก เปิดเครื่องให้ถามหาตลับแล้ว เปิดฝาใส่ตลับตามระบบ เป็นอันเสร็จสิ้น ทำแล้วแก้ได้จิงๆ แถมแสดงสถานะหมึกเต็มด้วย
1. ถอดปลั๊กไฟออก
2. กดปุ่ม on/off ค้างไว้ แล้วเสียบไฟ
3. ในขณะที่กด on/off ให้กดปุ่ม stop/reset 2 ครั้ง (ให้สังเกตที่ไฟ Alarm ครั้งแรกจะติด ครั้งที่ 2 ไม่ติด) แล้วปล่อยปุ่ม on/off
4. คอยจนไฟสีเขียวนิ่ง ที่หน้าจอจะขึ้นเลข 0 กดเครื่อง +ให้ตัวเลขเป็น 1
5. กด color 1 ครั้ง ไฟสีเขียวกับไฟ color จะติดพร้อมกัน
6. กดปุ่ม on/off 1 ครั้ง เครื่องจะพิมพ์ออกมา 2 แผ่น ไฟที่หน้าจะขึ้นเลข 0
7. เปิดฝาเครื่องขึ้น
8. ถอดปลั๊กไฟออก แล้วปลดตลับหมึกออกมาทั้ง 2 อัน
9. เสียบปลั๊กไฟพร้อมกับเครื่องโดยที่ยังไม่ปิดฝา เครื่องจะถามหาตลับหมึก
10. ใส่ตลับหมึก ปิดฝาเครื่อง ที่หน้าจอไฟจะขึ้น 1
11.จากนั้นเข้าไปในคอมคุณอีกทีเข้าไปล้างหัวพิมพ์
1.ปิดเครื่อง
2.กด Stop/Rest ค้างไว้
3.กดปุ่ม Powe rค้างปล่อยStop/Reset
4.ยังกด Power ค้างอยู่แล้วกด Stop/Reset 2 ครั้ง
5.ปล่อยมือจากทุกปุ่ม
6.กด Stop/Reset 4 ครั้งสังเกตุจาก ไฟ Alum
7.ปิดเครื่อง แล้ว เปิดใหม่
ส่วนไฟที่ขึ้น E2 นั้น วิธีแก้ก็ง่าย ๆ ครับ เพียงกดปุ่ม Stop/Reset ค้างไว้ประมาณ 5 วินาที แล้วปล่อยก็เป็นอันเสร็จแล้วครับ......ง่าย ๆ แค่นี้เอง....
<<<<>>>>>
CANON MP160,150 แจ้ง E5 1. ถอดปลั๊กปิดเครื่อง กุดปุ่ม power ค้างไว้ แล้วเสียบปลั๊ก จากนั้นให้กดปุ่ม Stop/Reset 2 ครั้ง แล้วปล่อยพร้อมกัน 2. ให้รอเครื่องนิ่ง หน้าจอจะขึ้น 0 ให้กด + ให้ขึ้น 1 แล้วกด Color 2 ครั้ง เครื่องจะดึงไปพิมพ์ 1 แผ่น หลังจากเครื่องพิมพ์แล้ว 3. เปิดฝาเครื่อง ดึงปลั๊กออก แล้วดึง ตลับหมึกออก จากนั้นปิดฝา แล้วเสียบปลั๊ก เปิดเครื่องให้ถามหาตลับแล้ว เปิดฝาใส่ตลับตามระบบ เป็นอันเสร็จสิ้น ทำแล้วแก้ได้จิงๆ แถมแสดงสถานะหมึกเต็มด้วย
1. ถอดปลั๊กไฟออก
2. กดปุ่ม on/off ค้างไว้ แล้วเสียบไฟ
3. ในขณะที่กด on/off ให้กดปุ่ม stop/reset 2 ครั้ง (ให้สังเกตที่ไฟ Alarm ครั้งแรกจะติด ครั้งที่ 2 ไม่ติด) แล้วปล่อยปุ่ม on/off
4. คอยจนไฟสีเขียวนิ่ง ที่หน้าจอจะขึ้นเลข 0 กดเครื่อง +ให้ตัวเลขเป็น 1
5. กด color 1 ครั้ง ไฟสีเขียวกับไฟ color จะติดพร้อมกัน
6. กดปุ่ม on/off 1 ครั้ง เครื่องจะพิมพ์ออกมา 2 แผ่น ไฟที่หน้าจะขึ้นเลข 0
7. เปิดฝาเครื่องขึ้น
8. ถอดปลั๊กไฟออก แล้วปลดตลับหมึกออกมาทั้ง 2 อัน
9. เสียบปลั๊กไฟพร้อมกับเครื่องโดยที่ยังไม่ปิดฝา เครื่องจะถามหาตลับหมึก
10. ใส่ตลับหมึก ปิดฝาเครื่อง ที่หน้าจอไฟจะขึ้น 1
11.จากนั้นเข้าไปในคอมคุณอีกทีเข้าไปล้างหัวพิมพ์
1.ปิดเครื่อง
2.กด Stop/Rest ค้างไว้
3.กดปุ่ม Powe rค้างปล่อยStop/Reset
4.ยังกด Power ค้างอยู่แล้วกด Stop/Reset 2 ครั้ง
5.ปล่อยมือจากทุกปุ่ม
6.กด Stop/Reset 4 ครั้งสังเกตุจาก ไฟ Alum
7.ปิดเครื่อง แล้ว เปิดใหม่
ส่วนไฟที่ขึ้น E2 นั้น วิธีแก้ก็ง่าย ๆ ครับ เพียงกดปุ่ม Stop/Reset ค้างไว้ประมาณ 5 วินาที แล้วปล่อยก็เป็นอันเสร็จแล้วครับ......ง่าย ๆ แค่นี้เอง....
<<<<>>>>>
วันจันทร์ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2551
โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ (Web browser)
โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ (Web browser)
โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ โปรแกรม Microsoft Internet Explorer (IE) และโปรแกรม Netscape Navigator
สำหรับคอมพิวเตอร์พีดีเอและโทรศัพท์มือถือ เรียกว่า ไมโครเบราว์เซอร์ (microbrowser) บางครั้งก็เรียกว่า มินิเบราว์เซอร์ (minibrowser)
ข้อมูลที่แสดงบนโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ จะมีลักษณะคล้ายหน้าเอกสาร เรียกว่าเว็บเพจ (Web page) โดยหน้าแรกของเว็บเพจจะเรียกว่า โฮมเพจ (home page)
การเข้าไปยังเว็บเพจของเว็บไซต์ใด ๆ ผู้ใช้จะต้องระบุที่อยู่ (Web address) โดยใช้ uniform resource location หรือ URL เพื่อชี้ไปยังตำแหน่งของ แหล่งข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต บริษัทและองค์การต่าง ๆ นิยมกำหนดชื่อ URL ให้เด่นและจดจำง่าย เพื่อประโยชน์ในการประชาสัมพันธ์ชื่อเว็บไซต์ทางสื่อต่าง ๆ
URL โดยทั่วไปมีรูปแบบและส่วนประกอบดังนี้
Protocol://domain name/path/
ตัวอย่างเช่น
(1) http://www.siam.edu
โพรโตคอลคือ http ซึ่งย่อมาจาก hypertext transfer protocol, ชื่อโดเมนคือ www.siam.th.edu
(2) http://tpt.nectec.or.th/Project/Nsc/Nsc.htm
โพรโตคอลคือ http, ชื่อโดเมนคือ tpt.nectec.or.th, ชื่อโฟลเดอร์คือ projects/Nsc และชื่อแฟ้มคือ nsc.htm
(3) ftp://bc.siamu.ac.th
โพรโตคอลคือ ftp ซึ่งย่อมากจาก file transfer protocol, ชื่อโดเมนคือ bc.siamu.ac.th
ในการพิมพ์ที่อยู่ของเว็บไซต์ ผู้ใช้สามารถละ http:// และ www ได้ เช่น เว็บไซต์ http://www.google.co.th สามารถพิมพ์เพียง google.co.th เท่านั้น
โปรแกรมค้นดูเว็บ หรือ เว็บเบราว์เซอร์ คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ผู้ใช้สามารถดูข้อมูลและโต้ตอบกับข้อมูลสารสนเทศที่จัดเก็บในหน้าเวบที่สร้างด้วยภาษาเฉพาะ เช่น ภาษาเอชทีเอ็มแอล (HTML)ที่จัดเก็บไว้ที่ระบบบริการเว็บหรือเว็บเซิร์ฟเวอร์หรือระบบคลังข้อมูลอื่นๆ โดยโปรแกรมค้นดูเว็บเปรียบเสมือนสื่อในการติดต่อกับเครือข่าย หรือ เน็ตเวิร์คขนาดใหญ่ที่เรียกว่าเวิลด์ไวด์เว็บ
โปรแกรมค้นดูเว็บเชื่อมโยงกับเว็บเซิร์ฟเวอร์ผ่านมาตรฐานหรือโปรโตคอลแบบ เอชทีทีพี (HTTP) ในการส่งหน้าเว็บ หรือเว็บเพจ ปัจจุบันเอชทีทีพีรุ่นล่าสุดคือ 1.1 ซึ่งสนับสนุนโดยโปรแกรมค้นดูเว็บทั่วไป ยกเว้นอินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ที่ยังสนับสนุนไม่เต็มที่
ที่อยู่ของเว็บเพจเรียกว่ายูอาร์แอล (URL) หรือยูอาร์ไอ (URI) ซึ่งรูปแบบมักจะเริ่มต้นด้วยคำว่า http:// สำหรับการติดต่อแบบเอชทีทีพี โปรแกรมค้นดูเว็บส่วนมากสนับสนุนการเชื่อมต่อรูปแบบอื่นนอกจากนี้ เช่น ftp:// สำหรับเอฟทีพี (FTP) https:// สำหรับเอชทีทีพีแบบสนับสนุนการเข้ารหัสข้อมูลเพื่อความปลอดภัย เป็นต้น
รูปแบบของไฟล์สำหรับเว็บเรียกว่าเอชทีเอ็มแอล (HTML) และสนับสนุนไฟล์รูปแบบอื่นๆ เช่น รูปภาพ (JPG, GIF, PNG) หรือเสียง
รายชื่อโปรแกรมค้นดูเว็บที่เป็นที่นิยม
อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ (Internet Explorer) โดยบริษัทไมโครซอฟท์
มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ (Mozilla Firefox) โดยมูลนิธิมอซิลลา
เน็ตสเคป นาวิเกเตอร์ (Netscape Navigator) โดยบริษัทเน็ตสเคป
ซาฟารี (Safari) โดยบริษัทแอปเปิล คอมพิวเตอร์
โอเปร่า (Opera) โดยบริษัทโอเปร่า ประเทศนอร์เวย์
สำหรับรายชื่อโปรแกรมค้นดูเว็บทั้งหมด ให้ดูรายชื่อเว็บเบราว์เซอร์
เครื่องมือช่วยค้นหาข้อมูล หรือ เสิร์ชเอนจิน (search engine) คือ โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่โปรแกรมหรือผู้ให้บริการแต่ละราย. เสิร์ชเอนจินส่วนใหญ่จะค้นหาข้อมูลจากคำสำคัญ (คีย์เวิร์ด) ที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไป จากนั้นก็จะแสดงรายการผลลัพธ์ที่มันคิดว่าผู้ใช้น่าจะต้องการขึ้นมา ในปัจจุบัน เสิร์ชเอนจินบางตัว เช่น กูเกิล จะบันทึกประวัติการค้นหาและการเลือกผลลัพธ์ของผู้ใช้ไว้ด้วย และจะนำประวัติที่บันทึกไว้นั้น มาช่วยกรองผลลัพธ์ในการค้นหาครั้งต่อ ๆ ไป
ลำดับตามความนิยม
สัดส่วนของผู้ใช้ในสหรัฐอเมริกา (ข้อมูลจาก นิตยสารฟอรบส์ ฉบับวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2548)
กูเกิล (Google) 36.9%
ยาฮูเสิร์ช (Yahoo! Search) 30.4%
เอ็มเอสเอ็นเสิร์ช (MSN Search) 15.7%
นอกจากด้านบน เว็บอื่น ๆ ที่เป็นที่นิยมได้แก่
เอโอแอล (AOL Search)
อาส์ก (Ask)
เอ 9 (A9)
ไป่ตู้ (Baidu, 百度) เสิร์ชเอนจิน อันดับ 1 ของประเทศจีน
โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ โปรแกรม Microsoft Internet Explorer (IE) และโปรแกรม Netscape Navigator
สำหรับคอมพิวเตอร์พีดีเอและโทรศัพท์มือถือ เรียกว่า ไมโครเบราว์เซอร์ (microbrowser) บางครั้งก็เรียกว่า มินิเบราว์เซอร์ (minibrowser)
ข้อมูลที่แสดงบนโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ จะมีลักษณะคล้ายหน้าเอกสาร เรียกว่าเว็บเพจ (Web page) โดยหน้าแรกของเว็บเพจจะเรียกว่า โฮมเพจ (home page)
การเข้าไปยังเว็บเพจของเว็บไซต์ใด ๆ ผู้ใช้จะต้องระบุที่อยู่ (Web address) โดยใช้ uniform resource location หรือ URL เพื่อชี้ไปยังตำแหน่งของ แหล่งข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต บริษัทและองค์การต่าง ๆ นิยมกำหนดชื่อ URL ให้เด่นและจดจำง่าย เพื่อประโยชน์ในการประชาสัมพันธ์ชื่อเว็บไซต์ทางสื่อต่าง ๆ
URL โดยทั่วไปมีรูปแบบและส่วนประกอบดังนี้
Protocol://domain name/path/
ตัวอย่างเช่น
(1) http://www.siam.edu
โพรโตคอลคือ http ซึ่งย่อมาจาก hypertext transfer protocol, ชื่อโดเมนคือ www.siam.th.edu
(2) http://tpt.nectec.or.th/Project/Nsc/Nsc.htm
โพรโตคอลคือ http, ชื่อโดเมนคือ tpt.nectec.or.th, ชื่อโฟลเดอร์คือ projects/Nsc และชื่อแฟ้มคือ nsc.htm
(3) ftp://bc.siamu.ac.th
โพรโตคอลคือ ftp ซึ่งย่อมากจาก file transfer protocol, ชื่อโดเมนคือ bc.siamu.ac.th
ในการพิมพ์ที่อยู่ของเว็บไซต์ ผู้ใช้สามารถละ http:// และ www ได้ เช่น เว็บไซต์ http://www.google.co.th สามารถพิมพ์เพียง google.co.th เท่านั้น
โปรแกรมค้นดูเว็บ หรือ เว็บเบราว์เซอร์ คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ผู้ใช้สามารถดูข้อมูลและโต้ตอบกับข้อมูลสารสนเทศที่จัดเก็บในหน้าเวบที่สร้างด้วยภาษาเฉพาะ เช่น ภาษาเอชทีเอ็มแอล (HTML)ที่จัดเก็บไว้ที่ระบบบริการเว็บหรือเว็บเซิร์ฟเวอร์หรือระบบคลังข้อมูลอื่นๆ โดยโปรแกรมค้นดูเว็บเปรียบเสมือนสื่อในการติดต่อกับเครือข่าย หรือ เน็ตเวิร์คขนาดใหญ่ที่เรียกว่าเวิลด์ไวด์เว็บ
โปรแกรมค้นดูเว็บเชื่อมโยงกับเว็บเซิร์ฟเวอร์ผ่านมาตรฐานหรือโปรโตคอลแบบ เอชทีทีพี (HTTP) ในการส่งหน้าเว็บ หรือเว็บเพจ ปัจจุบันเอชทีทีพีรุ่นล่าสุดคือ 1.1 ซึ่งสนับสนุนโดยโปรแกรมค้นดูเว็บทั่วไป ยกเว้นอินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ที่ยังสนับสนุนไม่เต็มที่
ที่อยู่ของเว็บเพจเรียกว่ายูอาร์แอล (URL) หรือยูอาร์ไอ (URI) ซึ่งรูปแบบมักจะเริ่มต้นด้วยคำว่า http:// สำหรับการติดต่อแบบเอชทีทีพี โปรแกรมค้นดูเว็บส่วนมากสนับสนุนการเชื่อมต่อรูปแบบอื่นนอกจากนี้ เช่น ftp:// สำหรับเอฟทีพี (FTP) https:// สำหรับเอชทีทีพีแบบสนับสนุนการเข้ารหัสข้อมูลเพื่อความปลอดภัย เป็นต้น
รูปแบบของไฟล์สำหรับเว็บเรียกว่าเอชทีเอ็มแอล (HTML) และสนับสนุนไฟล์รูปแบบอื่นๆ เช่น รูปภาพ (JPG, GIF, PNG) หรือเสียง
รายชื่อโปรแกรมค้นดูเว็บที่เป็นที่นิยม
อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ (Internet Explorer) โดยบริษัทไมโครซอฟท์
มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ (Mozilla Firefox) โดยมูลนิธิมอซิลลา
เน็ตสเคป นาวิเกเตอร์ (Netscape Navigator) โดยบริษัทเน็ตสเคป
ซาฟารี (Safari) โดยบริษัทแอปเปิล คอมพิวเตอร์
โอเปร่า (Opera) โดยบริษัทโอเปร่า ประเทศนอร์เวย์
สำหรับรายชื่อโปรแกรมค้นดูเว็บทั้งหมด ให้ดูรายชื่อเว็บเบราว์เซอร์
เครื่องมือช่วยค้นหาข้อมูล หรือ เสิร์ชเอนจิน (search engine) คือ โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่โปรแกรมหรือผู้ให้บริการแต่ละราย. เสิร์ชเอนจินส่วนใหญ่จะค้นหาข้อมูลจากคำสำคัญ (คีย์เวิร์ด) ที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไป จากนั้นก็จะแสดงรายการผลลัพธ์ที่มันคิดว่าผู้ใช้น่าจะต้องการขึ้นมา ในปัจจุบัน เสิร์ชเอนจินบางตัว เช่น กูเกิล จะบันทึกประวัติการค้นหาและการเลือกผลลัพธ์ของผู้ใช้ไว้ด้วย และจะนำประวัติที่บันทึกไว้นั้น มาช่วยกรองผลลัพธ์ในการค้นหาครั้งต่อ ๆ ไป
ลำดับตามความนิยม
สัดส่วนของผู้ใช้ในสหรัฐอเมริกา (ข้อมูลจาก นิตยสารฟอรบส์ ฉบับวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2548)
กูเกิล (Google) 36.9%
ยาฮูเสิร์ช (Yahoo! Search) 30.4%
เอ็มเอสเอ็นเสิร์ช (MSN Search) 15.7%
นอกจากด้านบน เว็บอื่น ๆ ที่เป็นที่นิยมได้แก่
เอโอแอล (AOL Search)
อาส์ก (Ask)
เอ 9 (A9)
ไป่ตู้ (Baidu, 百度) เสิร์ชเอนจิน อันดับ 1 ของประเทศจีน
บัลเล่ต์,โอเปร่า,ละครบรอดเวย์
บัลเล่ต์
บัลเล่ต์-ประวัติ การเต้นรำเพื่อความบันเทิง เฟื่องฟูช่วงปลายศตวรรษที่ 15-16 ในรูปแบบต่างๆไม่ว่าการแสดงโลดโผน ละครใบ้ บทสนทนา และบทเพลงผสมผสานกัน มีจุดประสงค์รับใช้ราชสำนักเป็นหลัก ประชาชนเป็นรอง สำหรับบัลเล่ต์เป็นศิลปะการเต้นรำที่พระนางแคเธอรีนแห่งเมดีซี (Catherine de Medici) นำไปพัฒนาที่ฝรั่งเศส เมื่อพระนางอภิเษกกับกษัตริย์อองรีที่ 2 ในตอนนั้นการแสดงบัลเล่ต์กินเวลานานกว่า 5 ชั่วโมง บัลเล่ต์ทำให้สตรีในราชสำนักมีโอกาสร่วมเต้นรำด้วย หลังจากที่เคยจำกัดอยู่ในวงของบุรุษ แต่บทนางเอกของเรื่องก็ยังกำหนดให้ผู้ชายแสดงอยู่ดี ส่วนผู้หญิงได้เล่นแต่บทเล็กๆ นอกจากนั้นผู้หญิงยังถูกจำกัดท่าทางการเต้นด้วยเครื่องแต่งกายที่ฟูยาว ขณะที่ผู้ชายแต่งตัวด้วยชุดรัดรูป ทำให้มีอิสระในการเคลื่อนไหวขามากกว่าไม่ว่า การหมุน การซอยเท้า การกระโดดซับซ้อนขึ้น รวมทั้งการยืนบนปลายเท้า ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นในการเต้นบัลเล่ต์ พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 เป็นผู้มีอิทธิพลมากในการทำให้การเต้นรำในราชสำนักกลายเป็นการเต้นรำเพื่ออาชีพ พระองค์ร่วมแสดงละครบัลเล่ต์เรื่อง “La nuit” ทั้งระดมผู้คนทั้งในราชสำนัก นักการเมือง และผู้มีพรสวรรค์ทุ่มเทพัฒนาการแสดงเต้นรำ ในค.ศ.1661 ทรงก่อตั้งสถาบันการเต้นรำอาชีพและสถาบันการดนตรีแห่งราชสำนัก และในปี 1671 จึงมีโรงเรียนสอนเต้นรำ ที่กรุงปารีส ซึ่งเปิดกว้างสู่สามัญชน ในช่วงปลายศตวรรษที่ 17-18 มีการก่อตั้งมูลนิธิของบัลเล่ต์ เพื่อพัฒนาการเต้นให้ดียิ่งขึ้น เช่นการใช้เท้าที่ซับซ้อนและเป็นธรรมชาติมากขึ้น ขณะที่นักเต้นบัลเล่ต์หญิงเริ่มมีบทบาทเด่นมากขึ้น ในปี 1681 นักเต้นหญิงมีโอกาสขึ้นเวที โดย Marie de Carmargo เป็นหนึ่งในนักเต้นบัลเล่ต์หญิงที่มีชื่อเสียงด้านระบำปลายเท้าที่ว่องไวและซับซ้อน เธอยังเป็นผู้ที่ตัดกระโปรงบัลเล่ต์ให้สั้นลง 2-3 นิ้ว เพื่อให้เต้นสะดวกขึ้น การปฏิวัติของมารีไม่ได้รับการยอมรับนัก กระทั่ง 50 ปีผ่านไป ในปีค.ศ.1760 ผู้เชี่ยวชาญบัลเล่ต์เริ่มตั้งคำถามถึงข้อจำกัดซึ่งยึดหลักศิลปะ และข้อจำกัดที่ไม่จำเป็น ปรมาจารย์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของวงการคือ ฌอง จอร์จ โนแวร์ ผู้เสนอแนวคิดการพัฒนาบัลเล่ต์ให้เป็นแบบฉบับศิลปะที่เป็นจริงเป็นจัง เพราะเห็นว่าบัลเล่ต์ควรเป็นวิธีที่ใช้แสดงความคิดทางละครผ่านทางการผสมผสานที่สมบูรณ์แบบของการเต้นรำ ละคร และตัวละคร เขาแลกเปลี่ยนความคิดของเขากับนักเรียน นักเต้นรำ และผู้ออกแบบท่าเต้นในเวลานั้น แต่มีอยู่เพียงท่านเดียวที่นำแนวความคิดของโนแวร์ไปปฏิบัติคือ โดแบร์วาล ผู้ออกแบบท่าเต้นทิ่ยิ่งใหญ่ เขาออกแบบท่าเต้นรำและสร้างตัวละครสามัญชนในละครเรื่อง La Fille Mal Garde ปีค.ศ.1789 ปัจจุบันบัลเล่ต์มีผู้ชมจำนวนกว้างขึ้น และมีหลากหลายเรื่องที่เล่น ได้แก่ Swan Lake (หงส์เหิน) Sleeping Beauty (เจ้าหญิงนิทรา) The Nutcracker , Carmen ฯลฯ ซึ่งส่วนใหญ่ใช้เพลงคลาสสิคของไชคอสสกีในการบรรเลง บริบทของนาฎศิลป์ร่วมสมัย (Contemporary Dance) นาฏศิลป์ร่วมสมัย(Contemporary Dance) หรือที่ชาวอเมริกันเรียกว่านาฏศิลป์สมัยใหม่ (Modern Dance) นั้น คงเป็นเพราะว่าในช่วงศตวรรษที่ 19 นั้นเป็นช่วงเวลาที่ศิลปะสมัยใหม่(Modernism) ได้เข้ามามีบทบาทเพื่อตอบสนองความต้องการจำเพาะของคนในยุคนั้น โดยเริ่มที่ฝรั่งเศสและกระจายไปทั่วยุโรปและอเมริกา ซึ่งลักษณะของโมเดิรน์นั้นจะต้องเป็นสิ่งที่มีความพิเศษที่มีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง โดยไม่ยึดติดอยู่กับรูปแบบงานแบบแผนเดิม ๆ เพราะการออกแบบนั้นจะคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอยเป็นหลักที่มีคุณลักษณะเฉพาะ ซึ่งก็ตรงกับรูปแบบการเต้นรำที่ถือกำเนิดขึ้นใหม่ในเวลานั้น ประเทศสหรัฐอเมริกาถือเป็นต้นกำเนิดของการเต้นในรูปแบบนาฏศิลป์สมัยใหม่นี้เนื่องจากกลุ่มคนที่อยู่ในแวดวงการเต้นรำในช่วงเวลานั้นประสบกับปัญหาในการสร้างสรรค์งานที่ต้องการให้ผลงาน สะท้อนให้เห็นถึงความรู้สึกภายในมากกว่าเรื่องของเทคนิคการเต้นอย่างมีแบบแผนของบัลเล่ต์(Classical Ballet) ซึ่งถือกำเนิดในประเทศฝรั่งเศส และกลุ่มประเทศทางยุโรป และในช่วงเวลานั้นสังคมของคนอเมริกันมีความตื่นตัวในเรื่องของกระแสการรักชาติอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการเมืองในขณะนั้น จึงทำให้ไม่ยอมรับวัฒนธรรมหรือสิ่งต่าง ๆ ที่หลั่งไหลมาจากยุโรปโดยสิ้นเชิง แต่ในบางกระแสก็กล่าวว่าอาจเป็นเพราะกลุ่มผู้ฝึกสอนบัลเล่ต์(Ballet Master) ต่าง ๆ ในกลุ่มประเทศยุโรป ไม่เคยยอมรับนักแสดงหรือคณะแสดงการแสดงบัลเล่ต์ที่จัดสร้างขึ้นโดยคนอเมริกันสักที จึงทำให้สังคมการเต้นในอเมริกันเกิดการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ และได้เริ่มมีการเปิดภาควิชานาฏยศิลป์ (Department of Dance) เป็นครั้งแรกในสถาบันการศึกษาของสหรัฐอเมริกา และกลายเป็นจุดรวมของวิทยาการทางด้าน Dance ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ผู้บุกเบิกที่สำคัญในการเต้นแบบโมเดิร์นในยุคแรกเริ่มคือ อิซาดอรา ดันแคน ( Isasara Duncan) เจ้าของทัศนคติ “Free Spirit” ที่ทุกคนยอมรับ เธอเกิดในซานฟรานซิสโก และไม่ปรากฏหลักฐานว่าเคยเข้าเรียนในโรงเรียนเต้นรำใดมาบ้าง แต่เธอได้เคยกล่าวไว้ว่า “เธอเริ่มเต้นรำตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา” เธอเริ่มชีวิตการเป็นนักเต้นโชว์ในเมืองชิคาโก ในปี ค.ศ. 1900 ภายใต้การอุปถัมภ์ของผู้จัดการโรงละครชื่อออกูสติน ดาลี และเมื่อเธอได้รับแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์งานจากการไปเที่ยวชมพิพิธภัณฑ์แห่งกรุงลอนดอนเธอได้เกิดความประทับใจและซึมซับเอาศิลปวัฒนธรรมของกรีกโบราณ มาเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างผลงานของเธอหลายต่อหลายครั้ง การแสดงของเธอจะมีรูปแบบการเต้นที่ค่อนข้างจะเป็นแบบฉบับของเธอเองมาก และมีความเป็นส่วนตัวมากจนไมมีใครสามารถสืบทอดศิลปะของเธอได้ มีลักษณะการเต้นที่ดูเหมือนจะไม่เป็นระบบและมีท่าที่ซ้ำไปซ้ำมา บ่อยครั้งงานของเธอจะมีลักษณะท่าเต้นที่ดูเรียบง่าย แสดงกับเวทีที่เปล่าเปลือย มักจะมีฉากสีน้ำเงินปิดหลัง ออกแบบเครื่องแต่งกายการแสดงอย่างง่าย ๆ คล้ายชุดกรีกโบราณ เต้นด้วยเท้าเปล่า ทำให้ผู้ชมในสมัยนั้นส่วนใหญ่ยังรับไม่ได้เพราะต่างก็ไม่เคยเห็นมาก่อน ดนตรีประกอบมักจะใช้ผลงานของ ริชาร์ด วากเนอร์, คริสตอฟ วิลลิบัลต์, กลูค ลุควิก ,ฟานเบโทเฟน , และ ปีเตอร์ อีลิทซ์ ไซคอฟกี ในงานของเธอมีลักษณะที่เป็นลีลาการแสดงออกของอารมณ์ประกอบผลงานเพลงของคีตกวี งานของเธอมีความเป็นศิลปะบริสุทธิ์สูงและมักเป็นเรื่องเกี่ยวกับการเมือง ในช่วงสุดท้ายของชีวิตเธอได้กลับมาเปิดการแสดงที่อเมริกาซึ่งเป็นบ้านเกิดเมืองนอนของเธอเอง แต่ก็ไม่ค่อยได้รับความนิยมนัก ในยุคสมัยต่อมาได้เกิดแบบแผนของการเต้นแบบโมเดิร์นแดนซ์ ที่กลายเป็นแบบฝึกหัดทางกายภาพเพื่อให้นักเต้นมีเทคนิคพิเศษในการเต้นรำ และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายใช้เป็นแบบอย่างในการเรียน-การสอนมาจนถึงปัจจุบันนี้ โดยมีนักเต้นและผู้ออกแบบท่าเต้น คือ มาร์ธา เกรแฮม ( Martha Graham ) มาร์ธา จบการศึกษาจากโรงเรียนสอนเต้นรำที่ชื่อว่าเดนิสชอว์ ( Denisshaw ) จัดตั้งโดย รู๊ท เซนต์ เดนิส ( Ruth St. Denis )และสามีนักเต้นรำของเธอ เท็ด ชอว์ ( Ted Shawn )ซึ่งเป็นชาวอเมริกัน ในปี ค.ศ. 1914 ที่เมืองซานตา บาบารา รัฐแคลิฟอร์เนียมาร์ธาเกิดในมลรัฐเพนซิลวาเนีย ในครอบครัวของผู้ที่เคร่งในศาสนาคริสต์ฝ่าย โปรแตสแตนต์ ซึ่งใช้การปกครองโดยพระที่มีสมณศักดิ์เท่ากันหมดและเป็นผู้ที่เคร่งศาสนาในแบบเดียวกันกับคนอังกฤษ ที่ไม่เห็นด้วยกับวิธีการของศาสนาทางราชการในสมัยพระนางเจ้าอลิซาเบธที่ 1 ครอบครัวของเธอจึงได้ย้ายมาที่อเมริกา สิ่งนี้เป็นผลสะท้อนเอาความเข้มงวด ความเคร่งขรึมแสดงออกมาในงานของเธอ ความขัดแย้งระหว่างการรับผิดชอบชั่วดี กับความปรารถนาในอารมณ์แฝงอยู่ในงานหลายชิ้นของเธอ เธอได้สอดแทรกเอาอารมณ์ของความร้ายกาจอย่างขมขื่นกับการสะกดกลั้นความรู้สึกอันเกี่ยวข้องในลัทธิความเชื่อส่วนตัวของเธอไว้ในงานของเธออย่างแยบยล และที่สำคัญเธอยังได้พยายามแสดงให้คนดูเห็นหรือบอกความในใจถึงเรื่องจริงในชีวิตของเธอให้ปรากฏออกมาในงาน ซึ่งพ่อของเธอได้ให้คำยืนยันว่าเธอได้กระทำเช่นนี้ต่อเนื่องมาตั้งแต่เด็กแล้ว มาร์ธา มีความสนใจในการเต้นรำมาโดยตลอดและมีความตั้งใจว่า จะยึดการเต้นรำเป็นอาชีพ เมื่อเธอได้เห็นการแสดงของ รู๊ท เธอจึงสมัตรเข้าเรียนในโรงเรียนสอนเต้นรำของรู๊ททันทีในปี ค.ศ. 1916 ที่โรงเรียนแห่งนี้มีความพิเศษนอกเหนือจากโรงเรียนเต้นรำอื่น ๆ ในเวลานั้นคือมีการนำเอาวัฒนธรรมจากประเทศอื่น ๆ มาผสมผสานให้ออกมามีลักษณะร่วมสมัย เช่นนำสไตล์การเคลื่อนไหว ของ อียิปต์ และ อินเดียมาประยุกต์ให้เป็นท่าทางที่ร่วมสมัย และยังสอนรูปแบบการเต้นทั้งแบบเก่า และใหม่ผสมผสานกัน มาร์ธาใช้เวลาศึกษาการเต้นรำในโรงเรียนเดนิสชอว์แห่งนี้เป็นเวลา 5 ปี จากนั้นเธอจึงหารูปแบบใหม่ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากการเรียนที่โรงเรียนเดนิสชอว์ สร้างสรรค์ให้เป็นรูปแบบการเต้นของเธอเอง เธอได้พัฒนาสไตล์ของเธอเองมาจนถึงจุดหนึ่งที่เธอได้ค้นพบเทคนิค”การยืด” และ “การหด”กล้ามเนื้อ (Contraction and Release ) หลังจากที่เธอได้ตั้งคณะและตระเวนเปิดการแสดงไปทั่วแล้ว ในปี ค.ศ. 1927 เธอได้เปิดโรงเรียนสอนเต้นรำร่วมสมัยของเธอพร้อม ๆ ไปกับคณะการแสดงของเธอซึ่งมีผลงานการแสดงออกมาอย่างต่อเนื่อง มาร์ธา เกรแฮม เป็นผู้หญิงอีกคนหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อประวัติศาสตร์โมเดิร์นแดนซ์ แม้มาร์ธาจะเสียชีวิตไปแล้วแต่คณะการแสดงของเธอก็ยังเปิดการแสดงต่อมา ก่อนที่จะปิดตัวลงไปกลายเป็นประวัติศาสตร์ ท่ามกลางความเสียดายของคนทั่วโลก แต่ผลงานของเธอได้ถูกนำไปเผยแพร่อย่างต่อเนื่องมาจนทุกวันนี้โดยเหล่าลูกศิษย์ของเธอ และศิลปินเหล่านั้นก็ยังคงใช้วิธีการสอนที่ได้ร่ำเรียนมากับเธอต่อมาอีกด้วย เช่น เมิร์ส คันนิ่งแฮม, อีริค ฮอคกินส์, แอนนา ซากาโลว์, พอล เทลเลอร์ หรือแม้แต่นักร้องเพลงป๊อปยอดนิยมของสหรัฐอเมริกาอย่าง มาดอนน่าก็ยังเคยเป็นลูกศิษย์ของมาร์ธา เกรแฮมอยู่ช่วงระยะเวลาหนึ่งก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นนักร้องยอดนิยมในภายหลัง มาดอนน่าเคยกล่าวว่า ช่วงเวลาที่ได้อยู่ในคณะเต้นรำของมาร์ธา เกรแฮมเป็นช่วงเวลาที่เธอได้เรียนรู้ถึงระเบียบวินัย และสมาธิในการเคลื่อนไหว ซึ่งเธอได้นำสิ่งที่เธอศึกษามาแสดงออกถึงปรัชญาแห่งการเคลื่อนไหวในการแสดงคอนเสิร์ตของเธอได้เป็นอย่างดีการเต้นในรูปแบบโมเดิร์นแดนซ์ ในประเทศสหรัฐอเมริกานั้น ได้มีการสร้างรูปแบบใหม่ ๆ ขึ้นอยู่ตลอดเวลา ในลักษณะของการทดลอง การนำเสนอแนวคิดใหม่ เทคนิคใหม่ เพื่อให้มีรูปแบบการแสดงที่แปลกใหม่อยู่เสมอ ยังมีนักออกแบบท่าเต้นและนักเต้นที่ยิ่งใหญ่อีกมากมายทำการสืบทอดพัฒนาและคลี่คลายรูปแบบการเต้นนาฏศิลป์ร่วมสมัย ไปในทิศทางที่ต่าง ๆ กัน ในประเทศแถบเอเชียเช่นญี่ปุ่น ก็มีรูปแบบการเต้นรำ การเคลื่อนไหวที่พัฒนามาจากนาฏศิลป์ร่วมสมัยในยุคแรก แต่พัฒนารูปแบบเป็นการเคลื่อนไหวที่สัมผัสกันด้วยพลังงานที่อยู่รอบ ๆ ร่างกาย เรียกเทคนิคการเต้นนี้ว่า บุตโต (Bud-toh) ที่ประเทศอินโดนีเซียได้มีการนำเทคนิคศิลปะการต่อสู้ชั้นสูงมาผสมผสานจนเกิดเป็นท่าเต้นในรูปแบบของนาฏศิลป์ร่วมสมัยที่มีชื่อท่าและเทคนิคเป็นท่าเตรียมพร้อมในการต่อสู้ เช่นรำกริช ซึ่งในปัจจุบันเราจะเห็นท่าทางเหล่านี้ปรากฏอยู่ในกีฬาชนิดหนึ่งที่เรียกว่า ปัญจะสีลัต ในการชมนาฏศิลป์ร่วมสมัยนั้น สิ่งที่ผู้ชมจะได้รับก็คือ สุนทรียภาพแห่งปรัชญา และสาร (Message) ที่สอดแทรกอยู่ในลีลาแห่งการเคลื่อนไหวนั้น และนอกจากนี้ผู้ชมจะได้รับความตื่นตา ตื่นใจจากเทคนิคและการเคลื่อนไหวของนักเต้นที่สื่อสารท่าทาง และเรื่องราวผ่านการเคลื่อนไหวอย่างมีรูปแบบเดียวกัน บอกเล่าความหมายที่ต้องการสื่อให้ผู้ชมเกิดกระบวนการทางความคิดและตีความหมายของท่าทางนั้น ๆ ให้ออกมาเป็นเรื่องราวตามประสบการณ์การดำเนินชีวิตและภูมิหลังของผู้ชมแต่ละท่าน บางครั้งสารที่นักแสดงและผู้สร้างงานต้องการจะสื่อสารให้ผู้ชมได้รับทราบจากการแสดงอาจไม่จำเป็นต้องอยู่ในบทสรุปเดียวกัน เพราะในการแสดงนาฏศิลป์ร่วมสมัยครั้งหนึ่งอาจถูกตีความหมายไปได้หลายรูปแบบ แต่การแสดงนาฏศิลป์ร่วมสมัยที่ดีนั้นส่วนมากจะมีเนื้อหาและรูปแบบของการแสดงที่มีลักษณะแห่งความเป็นสากล อาจมีการหยิบยกเรื่องราวที่สามารถพบเห็นได้รอบ ๆ ตัวเรานำมาเสนอให้เกิดมุมมองและทัศนคติใหม่ ๆ ต่อสังคมเพื่อตีแผ่หรือสะท้อนแง่คิดแห่งเรื่องราวนั้น ๆ ให้ปรากฏต่อสังคมในช่วงเวลาหนึ่ง การแสดงนาฏศิลป์ร่วมสมัยถือเป็นการแสดงที่ต้องประสานสัมพันธ์กับสื่อต่าง ๆ เช่น เสื้อผ้า ฉาก เทคนิค แสง เสี่ยง วัสดุ อุปกรณ์ประกอบการแสดง เวลา บรรยากาศ สิ่งเหล่านี้ล้วนแต่เป็นภาษาแห่งการบอกเล่าเรื่องราวร่วมกับการเคลื่อนไหวแบบนาฏศิลป์ร่วมสมัยแทบทั้งสิ้น นาฏศิลป์ร่วมสมัยที่ดีจะต้องมีความร่วมสมัยที่สามารถทำให้ผู้ชมเข้าใจในสารที่ต้องการจะสื่อ การชมนาฏศิลป์ร่วมสมัยนอกจากผู้ชมจะชมเพื่อความสนุกสนานแล้ว ผู้ขมอาจจะเกิดความรู้สึกคล้อยตามชื่นชมไปกับลีลาการเคลื่อนไหวของนักเต้นที่ผ่านการฝึกฝนจนสามารถที่จะใช้ทักษะและเทคนิคต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดีและทำการแสดงได้อย่างระดับมืออาชีพ ร่วมกับการออกแบบลีลาจากผู้กำกับท่าเต้นผสมผสานกับเทคนิคต่าง ๆ การชมผลงานทางนาฏศิลป์สมัยใหม่จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะเปิดโอกาสให้ผู้ชมได้รับสุนทรียภาพในการเลือกชมการแสดงที่หลากหลายมากขึ้นกว่าข้อจำกัดเดิม ๆ โดยมีนาฏศิลป์ร่วมสมัยเป็นทางเลือกที่จะสร้างประโยชน์ให้กับสังคมได้อีกทางหนึ่งนาฏศิลป์ร่วมสมัยจึงทำหน้าที่เปรียบเสมือนกระจกสองด้านที่ด้านหนึ่งส่องให้เห็นถึงความงามจากภายนอกและอีกด้านหนึ่งส่องให้เห็นถึงจิตใต้สำนึกของมนุษย์
โอเปร่า
โอเปร่า ศิลปะชั้นสูงในด้านดนตรีและการแสดง "โอเปร่า-Opera" หรือ "อุปรากร" คือละครที่มีเพลงและดนตรีเป็นหลักสำคัญในการดำเนินเรื่องราว เป็นผลรวมของศิลปะนานาชนิดเข้าด้วยกัน ตั้งแต่วรรณกรรมคือบทร้อง ด้านละครคือการแสดง การเต้นรำ และคีตกรรมคือดนตรี ตลอดระยะเวลาร่วม 400 ปีที่เกิดมีโอเปร่าขึ้น แบ่งประเภทได้ ดังนี้ 1. โอเปร่าซีเรีย Opera seria หรือ Serious opera หรือ Grand opera เป็นโอเปร่าที่ต้องตั้งใจดูอย่างมาก ดำเนินเรื่องด้วยบทร้อง ไม่มีการพูดสนทนา จัดเป็นศิลปะดนตรีชั้นสูง ผู้ชมต้องมีพื้นความรู้และความเข้าใจในองค์ประกอบโดยเฉพาะด้านดนตรีเพื่อความซาบซึ้งอย่างแท้จริง เรื่องราวของโอเปร่าประเภทนี้มักเป็นเรื่องความเก่งกาจของตัวนำ หรือเรื่องโศกนาฏกรรม 2. โคมิค โอเปร่า Comic Opera โอเปร่าที่มีเนื้อเรื่องสนุกสนาน ตลก ขบขัน ล้อเลียนคนหรือเหตุการณ์ต่างๆ มีบทสนทนาแทรกระหว่างบทเพลงร้องและดนตรีที่ฟังไพเราะ ไม่ยากเกินไป 3. โอเปเรตตา-Operetta จัดเป็นโอเปร่าขนาดเบา แนวสนุกสนานทันสมัย อาจเป็นเรื่องความรักกระจุ๋มกระ** คล้ายกับโคมิค โอเปร่า บทสนทนาของโอเปเรตตาเป็นบทพูดแทนบทร้อง 4. คอนทินิวอัส โอเปร่า Continuous opera เป็นโอเปร่าที่ผู้ประพันธ์ใช้ดนตรีเชื่อมโยงเรื่องราวตลอดตั้งแต่ต้นจนจบ ไม่มีการร้องหรือสนทนาที่เป็นช่วงๆ คีตกวี "วากเนอร์" เป็นผู้นำและใช้เสมอในโอเปร่าที่เขาเป็นผู้ประพันธ์ การแสดงโอเปร่ามีองค์ประกอบสำคัญคือ 1. เนื้อเรื่องที่นำมาเป็นบทขับร้อง เป็นบทร้อยกรองจากตำนาน เทพนิยาย นิทานโบราณ และวรรณกรรมที่มีชื่อเสียง นำมาทำเป็นบทร้องขึ้นใหม่สำหรับแสดงอุปรากรโดยเฉพาะ มีคีตกวีแต่งทำนองดนตรี 2. ดนตรี สำหรับโอเปร่าดนตรีเป็นปัจจัยที่ทำให้มีชีวิตจิตใจ บรรเลงประกอบบทร้อยกรองซึ่งเป็นบทขับร้อง ดำเนินเรื่องและเจรจากันตลอดทั้งเรื่อง ดนตรีเป็นองค์ประกอบสำคัญจนโอเปร่าได้รับการยกย่องให้เป็นผลงานของผู้ประพันธ์ดนตรี หรือคีตกวี มากกว่าที่จะคิดถึงผู้ประพันธ์เนื้อเรื่องหรือบทขับร้อง 3. ผู้แสดง นอกจากเป็นนักร้องเสียงไพเราะ ดังแจ่มใสกังวาน พลังเสียงดี แข็งแรง ร้องได้นาน ต้องฝึกฝนเป็นนักร้องอุปรากรโดยเฉพาะ แล้ว ยังต้องเป็นผู้มีฝีมือแสดงบทบาทยอดเยี่ยมด้วย เน้นเรื่องน้ำเสียง ความสามารถในการขับร้อง และบทบาท มากกว่าความสวยงามและรูปร่าง เสียงขับร้องแบ่งเป็น 6 ระดับเสียง เป็นเสียงนักร้องชาย 3 ระดับ เสียงนักร้องหญิง 3 ระดับ ประกอบด้วย ระดับเสียงสูงสุดของนักร้องหญิง (Soprano) ระดับเสียงกลางของนักร้องหญิง (Mezzo - Soprano) ระดับเสียงต่ำสุดของนักร้องหญิง (Contralto หรือ Alto) ระดับเสียงสูงสุดของนักร้องชาย (Tenor) ระดับเสียงกลางของนักร้องชาย (Baritone) และระดับเสียงต่ำสุดของนักร้องชาย (Bass) Baritone จะมีเสียงร้องที่ค่อนไปทางหนา...แต่ความหนา และความลึกของ voce di petto(chest voice) นั้นมีความต่างกัน....และเทคนิคการเปล่งเสียงนั้นจะว่าไป ก็จะแตกต่างแบบเห็นได้ชัดเวลาที่เจาะลงไปหา"repertoire" พวกบาริโทนถูกแบ่งเป็นคร่าวๆ ดังนี้ครับ........ Lyric Baritone: เป็นประเภทที่เหมาะกับบทบาทในอุปรากรขบขัน operetta ,comic opera, หรือ musical .........เสียงพูดของรีลิค บาริโทน จะไม่กังวานมากนัก(ส่วนใหญ่) จะสังเกตได้ยินregister ของเสียงพูดของพวกนี้ที่ประมาณคาง - คอ พวก รึลิค บาริโทน ก็ยังสามารถร้องเหมาะกับ lieder ทีเดียว.......บทที่เหมาะในอุปรากรก็เช่น Count (LeNozze), หรือ Figaroจากเรื่องเดียวกัน.........และก็ยังมีพวกบทในโอเปร่าของG& Sullivan ที่เหมาะมากเช่น Lord Chancellor ใน Iolanthe Dramatic Baritone เสียงจะหนักขึ้นมากว่าประเภทข้างต้น....repertoire ของเขาเป็นแบบ บารีโทน บาริโทน ...เหมาะมากๆกับบท Count LUNA (Il Trovatore) , Renato (Maschera), Giovanni(Giovanni), Rigoletto(Rigoletto) พวก Bass-Baritone ก็มีเทคนิคการร้องแบบลงเสียงได้ลึกมากๆ (ถ้าเทียบกับบาริโทนอื่น) บทของ Count Monterone (Rigoletto), Ferrando(Trovatore) หรือ.. Dr.Bartolo (Nozze di Figaro) ก็ยังได้(บางคนนึกว่าต้องเป็นนักร้องเสียงเบสเท่านั้น....
ละครบรอดเวย์ (Broadway)
บรอดเวย์ (Broadway) เป็นชื่อของถนนสายหนึ่งในเมืองนิวยอร์คประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นสัญลักษณ์อันสำคัญยิ่งของเมืองในด้านของศิลปะการละครเวที อันมีรูปแบบและองค์ประกอบที่เป็นเอกลักษณ์ของละครอเมริกันอย่างที่นิยมกันในตอนแรกว่า ละครเพลง(Musical Theatre) ที่มีรูปแบบการแสดง เพลงและการเต้นรำในลักษณะต่างๆ ที่กำหนดไว้อย่างตายตัวไม่ว่าจะมีการแสดงสักกี่รอบก็ตาม แม้แต่ในวงการภาพยนตร์ก็มักจะนำเรื่องราวจากละครเพลงมาทำเป็นภาพยนตร์และส่วนมากจะประสพผลสำเร็จได้รางวัลอยู่เสมอ เช่น เรื่อง Hello Dolly, West Side Story, The Sound of Music, South Pacific,The King and I, และเรื่องล่าสุดได้แก่ Chicago ความเป็นมาของละครบรอดเวย์นั้นสามารถแบ่งได้ออกเป็น 4 ยุคสมัยตามลักษณะของละครเพลงที่เปลี่ยนแปลงไปโดยจะเริ่มต้นในศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมาซึ่งเป็นยุคที่เริ่มมีละครเวทีเกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา ยุคแรก ในยุคแรกของละครเพลงที่เกิดขึ้นนี้ได้รับอิทธิพลทางการแสดงจากประเทศทางแบบยุโรป ซึ่งมีลักษณะเป็นโอเปรา (Operetta) กล่าวคือมีรูปแบบการร้องเพลงโอเปราและการแสดง อันมีเค้าโครงเรื่องที่มีลักษณะเหนือจริงมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับความรัก มีการเต้นประกอบการแสดงที่เรียกกันว่า โรแมนติก บัลเล่ต์ (Romantic Ballet) เช่นเรื่อง The Red Mill (1906) Naughty Marietta (1910) Sweethearts (1913) ยุคที่สอง ในยุคนี้จัดว่าเริ่มเป็นยุคของละครเวทีแบบอเมริกันโดยแท้ ทั้งรูปแบบการประพันธ์ เค้าโครงเรื่อง และองค์ประกอบต่างๆ ของละครมีลักษณะเป็นเรื่องราวของชาวบ้าน ชาวเมืองปกติ ใช้เพลงป๊อป มีการนำการเต้นรำเข้ามาประกอบ ซึ่งเป็นลักษณะการเต้นแบบอเมริกันเองกล่าวคือมีบทพูดและมีการร้องเพลง เต้นรำเพื่อเชื่อมต่อเรื่องราวจากเหตุการณ์หนึ่งไปสู่อีกเหตุการณ์หนึ่ง มีการเปลี่ยนฉาก มีบทชวนหัว เสียดสีล้อเลียนเหตุการณ์ที่สำคัญต่างๆ ในช่วงเวลานั้น ผู้นำการผลิตละครเพลงเวทีแบบอเมริกันในยุคนี้ได้แก่ จอร์ช แอมโคแฮน (1848-1942), เจอโรม เคิร์น (1885-1945), เออร์วิง เบอร์ลิน (1888-1985) ละครเพลงที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในยุคนี้ได้แก่ Show boat (1927),Funny Face (1927), Roberta (1933), Annie get your guns (1946) ยุคที่สาม เนื้อหาและเรื่องราวของละครเพลงในยุคนี้เน้นการเสนอเรื่องราวที่สะท้อนชีวิตจริงมากขึ้น และมีการนำเรื่องจากบทกวี วรรณคดีมาแสดงและผสมผสานเนื้อเรื่อง มีการเต้นรำมากขึ้น ทำให้ละครเพลงในยุคนี้มีลักษณะเป็นละคร (Drama) ที่สมบูรณ์มากขึ้นกว่าในยุคก่อน ผลงานเด่นในยุคนี้ได้แก่ Oklahoma! (1943) , South Pacific (1949), The King and I (1951), My Fair Lady (1956), The Sound of Music (1959)Camelot (1960), Funny Girls (1964) เป็นต้น ยุคที่สี่ เป็นยุคของรูปแบบใหม่แห่งวงการละครเพลงการนำเสนอเรื่องราวจะมุ่งเน้นไปที่เรื่องราวของวีรบุรุษ ความรักความยิ่งใหญ่ตระการตาหมดไปมีการนำเสนอเรื่องราวที่สะท้อนชีวิตสังคมในแง่มุมต่างๆ ซึ่งไม่จำเป็น ต้องจบลงด้วยความสุข หรือเป็นสิ่งที่สังคมยอมรับ มีการใช้เพลงร๊อคประกอบในการแสดง เช่น Jesus Christ Superstar (1968) Grease (1972) และในยุคนี้นับเป็นการเริ่มต้นละครแบบทดลองคือมีการนำเรื่องราวที่แปลกออกไปมานำเสนอเช่นเรื่อง Cabaret (1966) เป็นเรื่องราวของร้านเหล้าในยุคสงครามโลกครั้งที่สองที่เมืองเบอร์ลินในประเทศเยอรมันนีเนื้อหาเสียดสีความโหดร้ายของสงคราม และเรื่อง Evita (1970) เป็นเรื่องราวของภรรยาจอมเผด็จการของชาวอาร์เจนตินา ซึ่งทั้งสองเรื่องนี้ได้รับรางวัลมากมายและกลายเป็นละครเวทีที่ได้รับความนิยมเปิดแสดงติดต่อกันเป็นเวลานาน เพลงประกอบที่ได้รับความนิยมมากจากละครทั้งสองเรื่องนี้ก็คือ Cabaret, May be this time, Don’t cry for me Argentina ซึ่งประพันธ์โดยเจ้าพ่อแห่งวงการละครเพลง แอนดรู ลอยด์ เว๊บเบอร์ คุณลักษณะของละครบรอดเวย์ แนวทางในการจัดทำละครบรอดเวย์เหล่านี้มักจะเป็นแนวเบาๆ เป็นส่วนใหญ่ และมีบทตลกสอดแทรกอยู่เสมอ บางครั้งละครเพลงเหล่านี้จึงเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งก็คือ ละครชวนหัว (Musical Comedy) ลักษณะเฉพาะของละครบรอดเวย์จึงจะเน้นหนักด้านเนื้อเรื่อง บทร้อง และทำนองเพลงการเต้นรำที่ใช้ประกอบเพลงซึ่งมีจุดมุ่งหมายที่จะสร้างให้เป็นเพลง “ฮิต” บทร้องและดนตรีจึงมีความสำคัญมาก ทำให้รวมไปถึงผู้คิดท่าเต้นประกอบเพลง (Choreographer) เช่น เจอราลด์ รอบบินส์ (Jerome Robbins – West Side Story 1957), แอกเนส เดอ มิล (Agnes de Mille – Oklahoma! 1943), บ๊อบ ฟอซซี่ (Bob Fossi – Cabaret 1966) และนอกจากนี้ยังมี “หมอละคร” (Show Doctor) ซึ่งเป็นผู้ที่ช่วยแก้ไขปรับปรุงองค์ประกอบต่างๆ ของละครให้ดีขึ้น หลังจากการแสดงรอบปฐมทัศน์ซึ่งไม่ประสพความสำเร็จ เช่นเรื่อง คาเมล๊อต (Camelot) หมอละครนาม มอส ฮาร์ทได้เข้ามาปรับปรุงแก้ไข ทำให้ละครเรื่องนี้กลับมาเป็นละครเพลงบรอดเวย์ที่ประสพความสำเร็จอย่างมากเรื่องหนึ่งในเวลาต่อมา “ดารา” ก็จัดเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ซึ่งมีลักษณะที่แตกต่างไปจากดาราโอเปรา เพราะโอเปราใช้เสียงเป็นสื่อในการแสดงแต่ละครเพลงต้องการ นางเอก หรือ พระเอก ที่ดูเหมาะสมกับบทบาทอย่างแท้จริง และดาราละครเวทีเหล่านี้มักจะกลายเป็นดาราที่มีชื่อเสียงในวงการอื่นๆ ด้วย เช่นวงการภาพยนตร์หรือ วงการโทรทัศน์ เช่น จูลี่ แอนดรูส์ (จาก The Sound of Music 1959 ทั้งจากละครเวทีและภาพยนตร์ ผลงานล่าสุดในปี 2005 แสดงเป็นท่านย่าในภาพยนตร์เรื่อง Princess Diary 1 และ 2) “เค้าโครงเรื่อง” ของละครเวทีมีอยู่ด้วยกันหลายลักษณะส่วนมากจะได้รับการจัดทำขึ้นโดยดูตลาดและผู้ชมเป็นแนวทางการในการผลิตละครแต่ละเรื่อง โครงเรื่องจึงแตกต่างกันไปตามแนวความนิยมของสังคมในแต่ละยุค โดยปกติจะมีลักษณะของเหตุการณ์ที่น่าจดจำ เป็นประวัติศาสตร์ของสหรัฐอเมริกา เช่น Oklahoma!, Show Boat ,Music Man หรือโครงเรื่องที่มีแนวเทพนิยายในลักษณะของซินเดอเรลล่า เช่น แอนนาในเรื่องThe King and I และมาเรียในเรื่อง The Sound of Music และ อีไลซ่า ดูลิตเติลในเรื่อง My Fair Lady เค้าโครงเรื่องอีกประเภทหนึ่งคือเรื่องราวสะท้อนชีวิตความเป็นอยู่ที่แท้จริงของสังคม เช่นเรื่อง Cabaret, West Side Story, Chicago, สุนทรีย์ของละครบรอดเวย์ ละครบรอดเวย์มีจุดประสงค์ที่จะสร้างความบันเทิงเป็นอันดับแรก ผู้สร้างสรรค์ ผู้ผลิตต้องการสร้างความบันเทิงให้กับผู้ชม โดยพยายามทำให้การแสดงดูเป็นที่เข้าใจง่าย ผู้ชมสามารถรับรู้เรื่องราวที่ใกล้ตัว ทำให้รู้สึกสนุกเป็นที่ชื่นชอบ เมื่อได้รับการพัฒนารูปแบบ เนื้อหาสาระของละครมากขึ้น องค์ประกอบต่างๆ จึงเริ่มมีการสร้างสรรค์เพื่อเน้นความงามของศิลปะพัฒนาให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา จุดเด่นอีกประการหนึ่งของละครบรอดเวย์ที่ผู้ชมมักคาดหวังจากผู้จัดเสมอได้แก่ ฉาก และเครื่องแต่งกายอันตระการตา ผสมผสานกับพื้นฐานสำคัญในเรื่องการสร้างสรรค์เพลง และดนตรี รวมทั้งการเต้นที่มีการพัฒนาให้เหมาะสมกับเนื้อหาของเรื่อง ประกอบกับแสง สี เสียง และเทคนิคของการจัดฉาก การเปลี่ยนฉาก และความสดในการแสดงของนักแสดงที่มีความสามารถสูงทั้งในด้านการร้องเพลง การเต้นรำทำให้ละครบรอดเวย์เป็นที่ประทับใจในเรื่องของความแปลกใหม่ และเนื้อเรื่องของละครที่เป็นเรื่องใกล้ตัว ทำให้ผู้ชมสามารถติดตามเรื่องราวได้อย่างตลอด ดังตัวอย่างของละครบรอดเวย์ยอดนิยมเรื่อง The King and I เป็นละครบรอดเวย์ที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดตลอดกาล ตั้งแต่เริ่มแสดงครั้งแรกในปี 1951 แสดงติดต่อกัน 1,246 รอบ นักแสดงนำฝ่ายชายคือยูล บรินเนอร์แสดงนำทั้งหมด 4,625 รอบ ปัจจุบันละครบรอดเวย์ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนไม่สามารถสรุปได้ว่าจะมีจุดสูงสุดอยู่ที่ไหน เพราะมีการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัย มาปรับใช้ให้เข้ากับเรื่องราวและเหตุการณ์อยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ เครื่องยิงเลเซอร์ เครื่องสร้างภาพ 3 มิติ เครื่องสร้างปรากฏการณ์ธรรมชาติเทียม ทำให้ละครดูสมจริงสมจังมากขึ้นทุกที เป็นจุดเด่นที่ทำให้ผู้ชมชื่นชอบละครบรอดเวย์มาโดยตลอด ละครบรอดเวย์ทุกเรื่องก่อนที่จะนำมาแสดงที่โรงละครบนถนนบรอดเวย์ มักจะมีการทดลองแสดงตามที่ต่างๆ ก่อนและมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบต่างๆ ตามความคิดเห็นของผู้กำกับ ผู้ประพันธ์ดนตรี ผู้ประพันธ์เนื้อร้อง และผู้สร้างสรรค์ท่าเต้นตลอดจนทีมงานทุกคน ทำให้ละครเพลงได้รับการแก้ไขจนดูดี แล้วจึงนำมาแสดง ณ โรงละครบนถนนบรอดเวย์ ทำให้ละครบรอดเวย์มีคุณค่าและได้รับการยอมรับในเชิงศิลปการแสดงอย่างภาคภูมิ สุนทรีย์ของละครเพลงบรอดเวย์จึงอยู่ที่ความงดงามของตัวละครในขณะที่ทำการแสดง และอยู่ที่ความชื่นชมในคุณค่าความเป็นมนุษย์ที่สามารถสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างไม่น่าเชื่อว่า มนุษย์จะสามารถทำได้.
บัลเล่ต์-ประวัติ การเต้นรำเพื่อความบันเทิง เฟื่องฟูช่วงปลายศตวรรษที่ 15-16 ในรูปแบบต่างๆไม่ว่าการแสดงโลดโผน ละครใบ้ บทสนทนา และบทเพลงผสมผสานกัน มีจุดประสงค์รับใช้ราชสำนักเป็นหลัก ประชาชนเป็นรอง สำหรับบัลเล่ต์เป็นศิลปะการเต้นรำที่พระนางแคเธอรีนแห่งเมดีซี (Catherine de Medici) นำไปพัฒนาที่ฝรั่งเศส เมื่อพระนางอภิเษกกับกษัตริย์อองรีที่ 2 ในตอนนั้นการแสดงบัลเล่ต์กินเวลานานกว่า 5 ชั่วโมง บัลเล่ต์ทำให้สตรีในราชสำนักมีโอกาสร่วมเต้นรำด้วย หลังจากที่เคยจำกัดอยู่ในวงของบุรุษ แต่บทนางเอกของเรื่องก็ยังกำหนดให้ผู้ชายแสดงอยู่ดี ส่วนผู้หญิงได้เล่นแต่บทเล็กๆ นอกจากนั้นผู้หญิงยังถูกจำกัดท่าทางการเต้นด้วยเครื่องแต่งกายที่ฟูยาว ขณะที่ผู้ชายแต่งตัวด้วยชุดรัดรูป ทำให้มีอิสระในการเคลื่อนไหวขามากกว่าไม่ว่า การหมุน การซอยเท้า การกระโดดซับซ้อนขึ้น รวมทั้งการยืนบนปลายเท้า ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นในการเต้นบัลเล่ต์ พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 เป็นผู้มีอิทธิพลมากในการทำให้การเต้นรำในราชสำนักกลายเป็นการเต้นรำเพื่ออาชีพ พระองค์ร่วมแสดงละครบัลเล่ต์เรื่อง “La nuit” ทั้งระดมผู้คนทั้งในราชสำนัก นักการเมือง และผู้มีพรสวรรค์ทุ่มเทพัฒนาการแสดงเต้นรำ ในค.ศ.1661 ทรงก่อตั้งสถาบันการเต้นรำอาชีพและสถาบันการดนตรีแห่งราชสำนัก และในปี 1671 จึงมีโรงเรียนสอนเต้นรำ ที่กรุงปารีส ซึ่งเปิดกว้างสู่สามัญชน ในช่วงปลายศตวรรษที่ 17-18 มีการก่อตั้งมูลนิธิของบัลเล่ต์ เพื่อพัฒนาการเต้นให้ดียิ่งขึ้น เช่นการใช้เท้าที่ซับซ้อนและเป็นธรรมชาติมากขึ้น ขณะที่นักเต้นบัลเล่ต์หญิงเริ่มมีบทบาทเด่นมากขึ้น ในปี 1681 นักเต้นหญิงมีโอกาสขึ้นเวที โดย Marie de Carmargo เป็นหนึ่งในนักเต้นบัลเล่ต์หญิงที่มีชื่อเสียงด้านระบำปลายเท้าที่ว่องไวและซับซ้อน เธอยังเป็นผู้ที่ตัดกระโปรงบัลเล่ต์ให้สั้นลง 2-3 นิ้ว เพื่อให้เต้นสะดวกขึ้น การปฏิวัติของมารีไม่ได้รับการยอมรับนัก กระทั่ง 50 ปีผ่านไป ในปีค.ศ.1760 ผู้เชี่ยวชาญบัลเล่ต์เริ่มตั้งคำถามถึงข้อจำกัดซึ่งยึดหลักศิลปะ และข้อจำกัดที่ไม่จำเป็น ปรมาจารย์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของวงการคือ ฌอง จอร์จ โนแวร์ ผู้เสนอแนวคิดการพัฒนาบัลเล่ต์ให้เป็นแบบฉบับศิลปะที่เป็นจริงเป็นจัง เพราะเห็นว่าบัลเล่ต์ควรเป็นวิธีที่ใช้แสดงความคิดทางละครผ่านทางการผสมผสานที่สมบูรณ์แบบของการเต้นรำ ละคร และตัวละคร เขาแลกเปลี่ยนความคิดของเขากับนักเรียน นักเต้นรำ และผู้ออกแบบท่าเต้นในเวลานั้น แต่มีอยู่เพียงท่านเดียวที่นำแนวความคิดของโนแวร์ไปปฏิบัติคือ โดแบร์วาล ผู้ออกแบบท่าเต้นทิ่ยิ่งใหญ่ เขาออกแบบท่าเต้นรำและสร้างตัวละครสามัญชนในละครเรื่อง La Fille Mal Garde ปีค.ศ.1789 ปัจจุบันบัลเล่ต์มีผู้ชมจำนวนกว้างขึ้น และมีหลากหลายเรื่องที่เล่น ได้แก่ Swan Lake (หงส์เหิน) Sleeping Beauty (เจ้าหญิงนิทรา) The Nutcracker , Carmen ฯลฯ ซึ่งส่วนใหญ่ใช้เพลงคลาสสิคของไชคอสสกีในการบรรเลง บริบทของนาฎศิลป์ร่วมสมัย (Contemporary Dance) นาฏศิลป์ร่วมสมัย(Contemporary Dance) หรือที่ชาวอเมริกันเรียกว่านาฏศิลป์สมัยใหม่ (Modern Dance) นั้น คงเป็นเพราะว่าในช่วงศตวรรษที่ 19 นั้นเป็นช่วงเวลาที่ศิลปะสมัยใหม่(Modernism) ได้เข้ามามีบทบาทเพื่อตอบสนองความต้องการจำเพาะของคนในยุคนั้น โดยเริ่มที่ฝรั่งเศสและกระจายไปทั่วยุโรปและอเมริกา ซึ่งลักษณะของโมเดิรน์นั้นจะต้องเป็นสิ่งที่มีความพิเศษที่มีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง โดยไม่ยึดติดอยู่กับรูปแบบงานแบบแผนเดิม ๆ เพราะการออกแบบนั้นจะคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอยเป็นหลักที่มีคุณลักษณะเฉพาะ ซึ่งก็ตรงกับรูปแบบการเต้นรำที่ถือกำเนิดขึ้นใหม่ในเวลานั้น ประเทศสหรัฐอเมริกาถือเป็นต้นกำเนิดของการเต้นในรูปแบบนาฏศิลป์สมัยใหม่นี้เนื่องจากกลุ่มคนที่อยู่ในแวดวงการเต้นรำในช่วงเวลานั้นประสบกับปัญหาในการสร้างสรรค์งานที่ต้องการให้ผลงาน สะท้อนให้เห็นถึงความรู้สึกภายในมากกว่าเรื่องของเทคนิคการเต้นอย่างมีแบบแผนของบัลเล่ต์(Classical Ballet) ซึ่งถือกำเนิดในประเทศฝรั่งเศส และกลุ่มประเทศทางยุโรป และในช่วงเวลานั้นสังคมของคนอเมริกันมีความตื่นตัวในเรื่องของกระแสการรักชาติอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการเมืองในขณะนั้น จึงทำให้ไม่ยอมรับวัฒนธรรมหรือสิ่งต่าง ๆ ที่หลั่งไหลมาจากยุโรปโดยสิ้นเชิง แต่ในบางกระแสก็กล่าวว่าอาจเป็นเพราะกลุ่มผู้ฝึกสอนบัลเล่ต์(Ballet Master) ต่าง ๆ ในกลุ่มประเทศยุโรป ไม่เคยยอมรับนักแสดงหรือคณะแสดงการแสดงบัลเล่ต์ที่จัดสร้างขึ้นโดยคนอเมริกันสักที จึงทำให้สังคมการเต้นในอเมริกันเกิดการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ และได้เริ่มมีการเปิดภาควิชานาฏยศิลป์ (Department of Dance) เป็นครั้งแรกในสถาบันการศึกษาของสหรัฐอเมริกา และกลายเป็นจุดรวมของวิทยาการทางด้าน Dance ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ผู้บุกเบิกที่สำคัญในการเต้นแบบโมเดิร์นในยุคแรกเริ่มคือ อิซาดอรา ดันแคน ( Isasara Duncan) เจ้าของทัศนคติ “Free Spirit” ที่ทุกคนยอมรับ เธอเกิดในซานฟรานซิสโก และไม่ปรากฏหลักฐานว่าเคยเข้าเรียนในโรงเรียนเต้นรำใดมาบ้าง แต่เธอได้เคยกล่าวไว้ว่า “เธอเริ่มเต้นรำตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา” เธอเริ่มชีวิตการเป็นนักเต้นโชว์ในเมืองชิคาโก ในปี ค.ศ. 1900 ภายใต้การอุปถัมภ์ของผู้จัดการโรงละครชื่อออกูสติน ดาลี และเมื่อเธอได้รับแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์งานจากการไปเที่ยวชมพิพิธภัณฑ์แห่งกรุงลอนดอนเธอได้เกิดความประทับใจและซึมซับเอาศิลปวัฒนธรรมของกรีกโบราณ มาเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างผลงานของเธอหลายต่อหลายครั้ง การแสดงของเธอจะมีรูปแบบการเต้นที่ค่อนข้างจะเป็นแบบฉบับของเธอเองมาก และมีความเป็นส่วนตัวมากจนไมมีใครสามารถสืบทอดศิลปะของเธอได้ มีลักษณะการเต้นที่ดูเหมือนจะไม่เป็นระบบและมีท่าที่ซ้ำไปซ้ำมา บ่อยครั้งงานของเธอจะมีลักษณะท่าเต้นที่ดูเรียบง่าย แสดงกับเวทีที่เปล่าเปลือย มักจะมีฉากสีน้ำเงินปิดหลัง ออกแบบเครื่องแต่งกายการแสดงอย่างง่าย ๆ คล้ายชุดกรีกโบราณ เต้นด้วยเท้าเปล่า ทำให้ผู้ชมในสมัยนั้นส่วนใหญ่ยังรับไม่ได้เพราะต่างก็ไม่เคยเห็นมาก่อน ดนตรีประกอบมักจะใช้ผลงานของ ริชาร์ด วากเนอร์, คริสตอฟ วิลลิบัลต์, กลูค ลุควิก ,ฟานเบโทเฟน , และ ปีเตอร์ อีลิทซ์ ไซคอฟกี ในงานของเธอมีลักษณะที่เป็นลีลาการแสดงออกของอารมณ์ประกอบผลงานเพลงของคีตกวี งานของเธอมีความเป็นศิลปะบริสุทธิ์สูงและมักเป็นเรื่องเกี่ยวกับการเมือง ในช่วงสุดท้ายของชีวิตเธอได้กลับมาเปิดการแสดงที่อเมริกาซึ่งเป็นบ้านเกิดเมืองนอนของเธอเอง แต่ก็ไม่ค่อยได้รับความนิยมนัก ในยุคสมัยต่อมาได้เกิดแบบแผนของการเต้นแบบโมเดิร์นแดนซ์ ที่กลายเป็นแบบฝึกหัดทางกายภาพเพื่อให้นักเต้นมีเทคนิคพิเศษในการเต้นรำ และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายใช้เป็นแบบอย่างในการเรียน-การสอนมาจนถึงปัจจุบันนี้ โดยมีนักเต้นและผู้ออกแบบท่าเต้น คือ มาร์ธา เกรแฮม ( Martha Graham ) มาร์ธา จบการศึกษาจากโรงเรียนสอนเต้นรำที่ชื่อว่าเดนิสชอว์ ( Denisshaw ) จัดตั้งโดย รู๊ท เซนต์ เดนิส ( Ruth St. Denis )และสามีนักเต้นรำของเธอ เท็ด ชอว์ ( Ted Shawn )ซึ่งเป็นชาวอเมริกัน ในปี ค.ศ. 1914 ที่เมืองซานตา บาบารา รัฐแคลิฟอร์เนียมาร์ธาเกิดในมลรัฐเพนซิลวาเนีย ในครอบครัวของผู้ที่เคร่งในศาสนาคริสต์ฝ่าย โปรแตสแตนต์ ซึ่งใช้การปกครองโดยพระที่มีสมณศักดิ์เท่ากันหมดและเป็นผู้ที่เคร่งศาสนาในแบบเดียวกันกับคนอังกฤษ ที่ไม่เห็นด้วยกับวิธีการของศาสนาทางราชการในสมัยพระนางเจ้าอลิซาเบธที่ 1 ครอบครัวของเธอจึงได้ย้ายมาที่อเมริกา สิ่งนี้เป็นผลสะท้อนเอาความเข้มงวด ความเคร่งขรึมแสดงออกมาในงานของเธอ ความขัดแย้งระหว่างการรับผิดชอบชั่วดี กับความปรารถนาในอารมณ์แฝงอยู่ในงานหลายชิ้นของเธอ เธอได้สอดแทรกเอาอารมณ์ของความร้ายกาจอย่างขมขื่นกับการสะกดกลั้นความรู้สึกอันเกี่ยวข้องในลัทธิความเชื่อส่วนตัวของเธอไว้ในงานของเธออย่างแยบยล และที่สำคัญเธอยังได้พยายามแสดงให้คนดูเห็นหรือบอกความในใจถึงเรื่องจริงในชีวิตของเธอให้ปรากฏออกมาในงาน ซึ่งพ่อของเธอได้ให้คำยืนยันว่าเธอได้กระทำเช่นนี้ต่อเนื่องมาตั้งแต่เด็กแล้ว มาร์ธา มีความสนใจในการเต้นรำมาโดยตลอดและมีความตั้งใจว่า จะยึดการเต้นรำเป็นอาชีพ เมื่อเธอได้เห็นการแสดงของ รู๊ท เธอจึงสมัตรเข้าเรียนในโรงเรียนสอนเต้นรำของรู๊ททันทีในปี ค.ศ. 1916 ที่โรงเรียนแห่งนี้มีความพิเศษนอกเหนือจากโรงเรียนเต้นรำอื่น ๆ ในเวลานั้นคือมีการนำเอาวัฒนธรรมจากประเทศอื่น ๆ มาผสมผสานให้ออกมามีลักษณะร่วมสมัย เช่นนำสไตล์การเคลื่อนไหว ของ อียิปต์ และ อินเดียมาประยุกต์ให้เป็นท่าทางที่ร่วมสมัย และยังสอนรูปแบบการเต้นทั้งแบบเก่า และใหม่ผสมผสานกัน มาร์ธาใช้เวลาศึกษาการเต้นรำในโรงเรียนเดนิสชอว์แห่งนี้เป็นเวลา 5 ปี จากนั้นเธอจึงหารูปแบบใหม่ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากการเรียนที่โรงเรียนเดนิสชอว์ สร้างสรรค์ให้เป็นรูปแบบการเต้นของเธอเอง เธอได้พัฒนาสไตล์ของเธอเองมาจนถึงจุดหนึ่งที่เธอได้ค้นพบเทคนิค”การยืด” และ “การหด”กล้ามเนื้อ (Contraction and Release ) หลังจากที่เธอได้ตั้งคณะและตระเวนเปิดการแสดงไปทั่วแล้ว ในปี ค.ศ. 1927 เธอได้เปิดโรงเรียนสอนเต้นรำร่วมสมัยของเธอพร้อม ๆ ไปกับคณะการแสดงของเธอซึ่งมีผลงานการแสดงออกมาอย่างต่อเนื่อง มาร์ธา เกรแฮม เป็นผู้หญิงอีกคนหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อประวัติศาสตร์โมเดิร์นแดนซ์ แม้มาร์ธาจะเสียชีวิตไปแล้วแต่คณะการแสดงของเธอก็ยังเปิดการแสดงต่อมา ก่อนที่จะปิดตัวลงไปกลายเป็นประวัติศาสตร์ ท่ามกลางความเสียดายของคนทั่วโลก แต่ผลงานของเธอได้ถูกนำไปเผยแพร่อย่างต่อเนื่องมาจนทุกวันนี้โดยเหล่าลูกศิษย์ของเธอ และศิลปินเหล่านั้นก็ยังคงใช้วิธีการสอนที่ได้ร่ำเรียนมากับเธอต่อมาอีกด้วย เช่น เมิร์ส คันนิ่งแฮม, อีริค ฮอคกินส์, แอนนา ซากาโลว์, พอล เทลเลอร์ หรือแม้แต่นักร้องเพลงป๊อปยอดนิยมของสหรัฐอเมริกาอย่าง มาดอนน่าก็ยังเคยเป็นลูกศิษย์ของมาร์ธา เกรแฮมอยู่ช่วงระยะเวลาหนึ่งก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นนักร้องยอดนิยมในภายหลัง มาดอนน่าเคยกล่าวว่า ช่วงเวลาที่ได้อยู่ในคณะเต้นรำของมาร์ธา เกรแฮมเป็นช่วงเวลาที่เธอได้เรียนรู้ถึงระเบียบวินัย และสมาธิในการเคลื่อนไหว ซึ่งเธอได้นำสิ่งที่เธอศึกษามาแสดงออกถึงปรัชญาแห่งการเคลื่อนไหวในการแสดงคอนเสิร์ตของเธอได้เป็นอย่างดีการเต้นในรูปแบบโมเดิร์นแดนซ์ ในประเทศสหรัฐอเมริกานั้น ได้มีการสร้างรูปแบบใหม่ ๆ ขึ้นอยู่ตลอดเวลา ในลักษณะของการทดลอง การนำเสนอแนวคิดใหม่ เทคนิคใหม่ เพื่อให้มีรูปแบบการแสดงที่แปลกใหม่อยู่เสมอ ยังมีนักออกแบบท่าเต้นและนักเต้นที่ยิ่งใหญ่อีกมากมายทำการสืบทอดพัฒนาและคลี่คลายรูปแบบการเต้นนาฏศิลป์ร่วมสมัย ไปในทิศทางที่ต่าง ๆ กัน ในประเทศแถบเอเชียเช่นญี่ปุ่น ก็มีรูปแบบการเต้นรำ การเคลื่อนไหวที่พัฒนามาจากนาฏศิลป์ร่วมสมัยในยุคแรก แต่พัฒนารูปแบบเป็นการเคลื่อนไหวที่สัมผัสกันด้วยพลังงานที่อยู่รอบ ๆ ร่างกาย เรียกเทคนิคการเต้นนี้ว่า บุตโต (Bud-toh) ที่ประเทศอินโดนีเซียได้มีการนำเทคนิคศิลปะการต่อสู้ชั้นสูงมาผสมผสานจนเกิดเป็นท่าเต้นในรูปแบบของนาฏศิลป์ร่วมสมัยที่มีชื่อท่าและเทคนิคเป็นท่าเตรียมพร้อมในการต่อสู้ เช่นรำกริช ซึ่งในปัจจุบันเราจะเห็นท่าทางเหล่านี้ปรากฏอยู่ในกีฬาชนิดหนึ่งที่เรียกว่า ปัญจะสีลัต ในการชมนาฏศิลป์ร่วมสมัยนั้น สิ่งที่ผู้ชมจะได้รับก็คือ สุนทรียภาพแห่งปรัชญา และสาร (Message) ที่สอดแทรกอยู่ในลีลาแห่งการเคลื่อนไหวนั้น และนอกจากนี้ผู้ชมจะได้รับความตื่นตา ตื่นใจจากเทคนิคและการเคลื่อนไหวของนักเต้นที่สื่อสารท่าทาง และเรื่องราวผ่านการเคลื่อนไหวอย่างมีรูปแบบเดียวกัน บอกเล่าความหมายที่ต้องการสื่อให้ผู้ชมเกิดกระบวนการทางความคิดและตีความหมายของท่าทางนั้น ๆ ให้ออกมาเป็นเรื่องราวตามประสบการณ์การดำเนินชีวิตและภูมิหลังของผู้ชมแต่ละท่าน บางครั้งสารที่นักแสดงและผู้สร้างงานต้องการจะสื่อสารให้ผู้ชมได้รับทราบจากการแสดงอาจไม่จำเป็นต้องอยู่ในบทสรุปเดียวกัน เพราะในการแสดงนาฏศิลป์ร่วมสมัยครั้งหนึ่งอาจถูกตีความหมายไปได้หลายรูปแบบ แต่การแสดงนาฏศิลป์ร่วมสมัยที่ดีนั้นส่วนมากจะมีเนื้อหาและรูปแบบของการแสดงที่มีลักษณะแห่งความเป็นสากล อาจมีการหยิบยกเรื่องราวที่สามารถพบเห็นได้รอบ ๆ ตัวเรานำมาเสนอให้เกิดมุมมองและทัศนคติใหม่ ๆ ต่อสังคมเพื่อตีแผ่หรือสะท้อนแง่คิดแห่งเรื่องราวนั้น ๆ ให้ปรากฏต่อสังคมในช่วงเวลาหนึ่ง การแสดงนาฏศิลป์ร่วมสมัยถือเป็นการแสดงที่ต้องประสานสัมพันธ์กับสื่อต่าง ๆ เช่น เสื้อผ้า ฉาก เทคนิค แสง เสี่ยง วัสดุ อุปกรณ์ประกอบการแสดง เวลา บรรยากาศ สิ่งเหล่านี้ล้วนแต่เป็นภาษาแห่งการบอกเล่าเรื่องราวร่วมกับการเคลื่อนไหวแบบนาฏศิลป์ร่วมสมัยแทบทั้งสิ้น นาฏศิลป์ร่วมสมัยที่ดีจะต้องมีความร่วมสมัยที่สามารถทำให้ผู้ชมเข้าใจในสารที่ต้องการจะสื่อ การชมนาฏศิลป์ร่วมสมัยนอกจากผู้ชมจะชมเพื่อความสนุกสนานแล้ว ผู้ขมอาจจะเกิดความรู้สึกคล้อยตามชื่นชมไปกับลีลาการเคลื่อนไหวของนักเต้นที่ผ่านการฝึกฝนจนสามารถที่จะใช้ทักษะและเทคนิคต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดีและทำการแสดงได้อย่างระดับมืออาชีพ ร่วมกับการออกแบบลีลาจากผู้กำกับท่าเต้นผสมผสานกับเทคนิคต่าง ๆ การชมผลงานทางนาฏศิลป์สมัยใหม่จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะเปิดโอกาสให้ผู้ชมได้รับสุนทรียภาพในการเลือกชมการแสดงที่หลากหลายมากขึ้นกว่าข้อจำกัดเดิม ๆ โดยมีนาฏศิลป์ร่วมสมัยเป็นทางเลือกที่จะสร้างประโยชน์ให้กับสังคมได้อีกทางหนึ่งนาฏศิลป์ร่วมสมัยจึงทำหน้าที่เปรียบเสมือนกระจกสองด้านที่ด้านหนึ่งส่องให้เห็นถึงความงามจากภายนอกและอีกด้านหนึ่งส่องให้เห็นถึงจิตใต้สำนึกของมนุษย์
โอเปร่า
โอเปร่า ศิลปะชั้นสูงในด้านดนตรีและการแสดง "โอเปร่า-Opera" หรือ "อุปรากร" คือละครที่มีเพลงและดนตรีเป็นหลักสำคัญในการดำเนินเรื่องราว เป็นผลรวมของศิลปะนานาชนิดเข้าด้วยกัน ตั้งแต่วรรณกรรมคือบทร้อง ด้านละครคือการแสดง การเต้นรำ และคีตกรรมคือดนตรี ตลอดระยะเวลาร่วม 400 ปีที่เกิดมีโอเปร่าขึ้น แบ่งประเภทได้ ดังนี้ 1. โอเปร่าซีเรีย Opera seria หรือ Serious opera หรือ Grand opera เป็นโอเปร่าที่ต้องตั้งใจดูอย่างมาก ดำเนินเรื่องด้วยบทร้อง ไม่มีการพูดสนทนา จัดเป็นศิลปะดนตรีชั้นสูง ผู้ชมต้องมีพื้นความรู้และความเข้าใจในองค์ประกอบโดยเฉพาะด้านดนตรีเพื่อความซาบซึ้งอย่างแท้จริง เรื่องราวของโอเปร่าประเภทนี้มักเป็นเรื่องความเก่งกาจของตัวนำ หรือเรื่องโศกนาฏกรรม 2. โคมิค โอเปร่า Comic Opera โอเปร่าที่มีเนื้อเรื่องสนุกสนาน ตลก ขบขัน ล้อเลียนคนหรือเหตุการณ์ต่างๆ มีบทสนทนาแทรกระหว่างบทเพลงร้องและดนตรีที่ฟังไพเราะ ไม่ยากเกินไป 3. โอเปเรตตา-Operetta จัดเป็นโอเปร่าขนาดเบา แนวสนุกสนานทันสมัย อาจเป็นเรื่องความรักกระจุ๋มกระ** คล้ายกับโคมิค โอเปร่า บทสนทนาของโอเปเรตตาเป็นบทพูดแทนบทร้อง 4. คอนทินิวอัส โอเปร่า Continuous opera เป็นโอเปร่าที่ผู้ประพันธ์ใช้ดนตรีเชื่อมโยงเรื่องราวตลอดตั้งแต่ต้นจนจบ ไม่มีการร้องหรือสนทนาที่เป็นช่วงๆ คีตกวี "วากเนอร์" เป็นผู้นำและใช้เสมอในโอเปร่าที่เขาเป็นผู้ประพันธ์ การแสดงโอเปร่ามีองค์ประกอบสำคัญคือ 1. เนื้อเรื่องที่นำมาเป็นบทขับร้อง เป็นบทร้อยกรองจากตำนาน เทพนิยาย นิทานโบราณ และวรรณกรรมที่มีชื่อเสียง นำมาทำเป็นบทร้องขึ้นใหม่สำหรับแสดงอุปรากรโดยเฉพาะ มีคีตกวีแต่งทำนองดนตรี 2. ดนตรี สำหรับโอเปร่าดนตรีเป็นปัจจัยที่ทำให้มีชีวิตจิตใจ บรรเลงประกอบบทร้อยกรองซึ่งเป็นบทขับร้อง ดำเนินเรื่องและเจรจากันตลอดทั้งเรื่อง ดนตรีเป็นองค์ประกอบสำคัญจนโอเปร่าได้รับการยกย่องให้เป็นผลงานของผู้ประพันธ์ดนตรี หรือคีตกวี มากกว่าที่จะคิดถึงผู้ประพันธ์เนื้อเรื่องหรือบทขับร้อง 3. ผู้แสดง นอกจากเป็นนักร้องเสียงไพเราะ ดังแจ่มใสกังวาน พลังเสียงดี แข็งแรง ร้องได้นาน ต้องฝึกฝนเป็นนักร้องอุปรากรโดยเฉพาะ แล้ว ยังต้องเป็นผู้มีฝีมือแสดงบทบาทยอดเยี่ยมด้วย เน้นเรื่องน้ำเสียง ความสามารถในการขับร้อง และบทบาท มากกว่าความสวยงามและรูปร่าง เสียงขับร้องแบ่งเป็น 6 ระดับเสียง เป็นเสียงนักร้องชาย 3 ระดับ เสียงนักร้องหญิง 3 ระดับ ประกอบด้วย ระดับเสียงสูงสุดของนักร้องหญิง (Soprano) ระดับเสียงกลางของนักร้องหญิง (Mezzo - Soprano) ระดับเสียงต่ำสุดของนักร้องหญิง (Contralto หรือ Alto) ระดับเสียงสูงสุดของนักร้องชาย (Tenor) ระดับเสียงกลางของนักร้องชาย (Baritone) และระดับเสียงต่ำสุดของนักร้องชาย (Bass) Baritone จะมีเสียงร้องที่ค่อนไปทางหนา...แต่ความหนา และความลึกของ voce di petto(chest voice) นั้นมีความต่างกัน....และเทคนิคการเปล่งเสียงนั้นจะว่าไป ก็จะแตกต่างแบบเห็นได้ชัดเวลาที่เจาะลงไปหา"repertoire" พวกบาริโทนถูกแบ่งเป็นคร่าวๆ ดังนี้ครับ........ Lyric Baritone: เป็นประเภทที่เหมาะกับบทบาทในอุปรากรขบขัน operetta ,comic opera, หรือ musical .........เสียงพูดของรีลิค บาริโทน จะไม่กังวานมากนัก(ส่วนใหญ่) จะสังเกตได้ยินregister ของเสียงพูดของพวกนี้ที่ประมาณคาง - คอ พวก รึลิค บาริโทน ก็ยังสามารถร้องเหมาะกับ lieder ทีเดียว.......บทที่เหมาะในอุปรากรก็เช่น Count (LeNozze), หรือ Figaroจากเรื่องเดียวกัน.........และก็ยังมีพวกบทในโอเปร่าของG& Sullivan ที่เหมาะมากเช่น Lord Chancellor ใน Iolanthe Dramatic Baritone เสียงจะหนักขึ้นมากว่าประเภทข้างต้น....repertoire ของเขาเป็นแบบ บารีโทน บาริโทน ...เหมาะมากๆกับบท Count LUNA (Il Trovatore) , Renato (Maschera), Giovanni(Giovanni), Rigoletto(Rigoletto) พวก Bass-Baritone ก็มีเทคนิคการร้องแบบลงเสียงได้ลึกมากๆ (ถ้าเทียบกับบาริโทนอื่น) บทของ Count Monterone (Rigoletto), Ferrando(Trovatore) หรือ.. Dr.Bartolo (Nozze di Figaro) ก็ยังได้(บางคนนึกว่าต้องเป็นนักร้องเสียงเบสเท่านั้น....
ละครบรอดเวย์ (Broadway)
บรอดเวย์ (Broadway) เป็นชื่อของถนนสายหนึ่งในเมืองนิวยอร์คประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นสัญลักษณ์อันสำคัญยิ่งของเมืองในด้านของศิลปะการละครเวที อันมีรูปแบบและองค์ประกอบที่เป็นเอกลักษณ์ของละครอเมริกันอย่างที่นิยมกันในตอนแรกว่า ละครเพลง(Musical Theatre) ที่มีรูปแบบการแสดง เพลงและการเต้นรำในลักษณะต่างๆ ที่กำหนดไว้อย่างตายตัวไม่ว่าจะมีการแสดงสักกี่รอบก็ตาม แม้แต่ในวงการภาพยนตร์ก็มักจะนำเรื่องราวจากละครเพลงมาทำเป็นภาพยนตร์และส่วนมากจะประสพผลสำเร็จได้รางวัลอยู่เสมอ เช่น เรื่อง Hello Dolly, West Side Story, The Sound of Music, South Pacific,The King and I, และเรื่องล่าสุดได้แก่ Chicago ความเป็นมาของละครบรอดเวย์นั้นสามารถแบ่งได้ออกเป็น 4 ยุคสมัยตามลักษณะของละครเพลงที่เปลี่ยนแปลงไปโดยจะเริ่มต้นในศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมาซึ่งเป็นยุคที่เริ่มมีละครเวทีเกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา ยุคแรก ในยุคแรกของละครเพลงที่เกิดขึ้นนี้ได้รับอิทธิพลทางการแสดงจากประเทศทางแบบยุโรป ซึ่งมีลักษณะเป็นโอเปรา (Operetta) กล่าวคือมีรูปแบบการร้องเพลงโอเปราและการแสดง อันมีเค้าโครงเรื่องที่มีลักษณะเหนือจริงมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับความรัก มีการเต้นประกอบการแสดงที่เรียกกันว่า โรแมนติก บัลเล่ต์ (Romantic Ballet) เช่นเรื่อง The Red Mill (1906) Naughty Marietta (1910) Sweethearts (1913) ยุคที่สอง ในยุคนี้จัดว่าเริ่มเป็นยุคของละครเวทีแบบอเมริกันโดยแท้ ทั้งรูปแบบการประพันธ์ เค้าโครงเรื่อง และองค์ประกอบต่างๆ ของละครมีลักษณะเป็นเรื่องราวของชาวบ้าน ชาวเมืองปกติ ใช้เพลงป๊อป มีการนำการเต้นรำเข้ามาประกอบ ซึ่งเป็นลักษณะการเต้นแบบอเมริกันเองกล่าวคือมีบทพูดและมีการร้องเพลง เต้นรำเพื่อเชื่อมต่อเรื่องราวจากเหตุการณ์หนึ่งไปสู่อีกเหตุการณ์หนึ่ง มีการเปลี่ยนฉาก มีบทชวนหัว เสียดสีล้อเลียนเหตุการณ์ที่สำคัญต่างๆ ในช่วงเวลานั้น ผู้นำการผลิตละครเพลงเวทีแบบอเมริกันในยุคนี้ได้แก่ จอร์ช แอมโคแฮน (1848-1942), เจอโรม เคิร์น (1885-1945), เออร์วิง เบอร์ลิน (1888-1985) ละครเพลงที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในยุคนี้ได้แก่ Show boat (1927),Funny Face (1927), Roberta (1933), Annie get your guns (1946) ยุคที่สาม เนื้อหาและเรื่องราวของละครเพลงในยุคนี้เน้นการเสนอเรื่องราวที่สะท้อนชีวิตจริงมากขึ้น และมีการนำเรื่องจากบทกวี วรรณคดีมาแสดงและผสมผสานเนื้อเรื่อง มีการเต้นรำมากขึ้น ทำให้ละครเพลงในยุคนี้มีลักษณะเป็นละคร (Drama) ที่สมบูรณ์มากขึ้นกว่าในยุคก่อน ผลงานเด่นในยุคนี้ได้แก่ Oklahoma! (1943) , South Pacific (1949), The King and I (1951), My Fair Lady (1956), The Sound of Music (1959)Camelot (1960), Funny Girls (1964) เป็นต้น ยุคที่สี่ เป็นยุคของรูปแบบใหม่แห่งวงการละครเพลงการนำเสนอเรื่องราวจะมุ่งเน้นไปที่เรื่องราวของวีรบุรุษ ความรักความยิ่งใหญ่ตระการตาหมดไปมีการนำเสนอเรื่องราวที่สะท้อนชีวิตสังคมในแง่มุมต่างๆ ซึ่งไม่จำเป็น ต้องจบลงด้วยความสุข หรือเป็นสิ่งที่สังคมยอมรับ มีการใช้เพลงร๊อคประกอบในการแสดง เช่น Jesus Christ Superstar (1968) Grease (1972) และในยุคนี้นับเป็นการเริ่มต้นละครแบบทดลองคือมีการนำเรื่องราวที่แปลกออกไปมานำเสนอเช่นเรื่อง Cabaret (1966) เป็นเรื่องราวของร้านเหล้าในยุคสงครามโลกครั้งที่สองที่เมืองเบอร์ลินในประเทศเยอรมันนีเนื้อหาเสียดสีความโหดร้ายของสงคราม และเรื่อง Evita (1970) เป็นเรื่องราวของภรรยาจอมเผด็จการของชาวอาร์เจนตินา ซึ่งทั้งสองเรื่องนี้ได้รับรางวัลมากมายและกลายเป็นละครเวทีที่ได้รับความนิยมเปิดแสดงติดต่อกันเป็นเวลานาน เพลงประกอบที่ได้รับความนิยมมากจากละครทั้งสองเรื่องนี้ก็คือ Cabaret, May be this time, Don’t cry for me Argentina ซึ่งประพันธ์โดยเจ้าพ่อแห่งวงการละครเพลง แอนดรู ลอยด์ เว๊บเบอร์ คุณลักษณะของละครบรอดเวย์ แนวทางในการจัดทำละครบรอดเวย์เหล่านี้มักจะเป็นแนวเบาๆ เป็นส่วนใหญ่ และมีบทตลกสอดแทรกอยู่เสมอ บางครั้งละครเพลงเหล่านี้จึงเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งก็คือ ละครชวนหัว (Musical Comedy) ลักษณะเฉพาะของละครบรอดเวย์จึงจะเน้นหนักด้านเนื้อเรื่อง บทร้อง และทำนองเพลงการเต้นรำที่ใช้ประกอบเพลงซึ่งมีจุดมุ่งหมายที่จะสร้างให้เป็นเพลง “ฮิต” บทร้องและดนตรีจึงมีความสำคัญมาก ทำให้รวมไปถึงผู้คิดท่าเต้นประกอบเพลง (Choreographer) เช่น เจอราลด์ รอบบินส์ (Jerome Robbins – West Side Story 1957), แอกเนส เดอ มิล (Agnes de Mille – Oklahoma! 1943), บ๊อบ ฟอซซี่ (Bob Fossi – Cabaret 1966) และนอกจากนี้ยังมี “หมอละคร” (Show Doctor) ซึ่งเป็นผู้ที่ช่วยแก้ไขปรับปรุงองค์ประกอบต่างๆ ของละครให้ดีขึ้น หลังจากการแสดงรอบปฐมทัศน์ซึ่งไม่ประสพความสำเร็จ เช่นเรื่อง คาเมล๊อต (Camelot) หมอละครนาม มอส ฮาร์ทได้เข้ามาปรับปรุงแก้ไข ทำให้ละครเรื่องนี้กลับมาเป็นละครเพลงบรอดเวย์ที่ประสพความสำเร็จอย่างมากเรื่องหนึ่งในเวลาต่อมา “ดารา” ก็จัดเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ซึ่งมีลักษณะที่แตกต่างไปจากดาราโอเปรา เพราะโอเปราใช้เสียงเป็นสื่อในการแสดงแต่ละครเพลงต้องการ นางเอก หรือ พระเอก ที่ดูเหมาะสมกับบทบาทอย่างแท้จริง และดาราละครเวทีเหล่านี้มักจะกลายเป็นดาราที่มีชื่อเสียงในวงการอื่นๆ ด้วย เช่นวงการภาพยนตร์หรือ วงการโทรทัศน์ เช่น จูลี่ แอนดรูส์ (จาก The Sound of Music 1959 ทั้งจากละครเวทีและภาพยนตร์ ผลงานล่าสุดในปี 2005 แสดงเป็นท่านย่าในภาพยนตร์เรื่อง Princess Diary 1 และ 2) “เค้าโครงเรื่อง” ของละครเวทีมีอยู่ด้วยกันหลายลักษณะส่วนมากจะได้รับการจัดทำขึ้นโดยดูตลาดและผู้ชมเป็นแนวทางการในการผลิตละครแต่ละเรื่อง โครงเรื่องจึงแตกต่างกันไปตามแนวความนิยมของสังคมในแต่ละยุค โดยปกติจะมีลักษณะของเหตุการณ์ที่น่าจดจำ เป็นประวัติศาสตร์ของสหรัฐอเมริกา เช่น Oklahoma!, Show Boat ,Music Man หรือโครงเรื่องที่มีแนวเทพนิยายในลักษณะของซินเดอเรลล่า เช่น แอนนาในเรื่องThe King and I และมาเรียในเรื่อง The Sound of Music และ อีไลซ่า ดูลิตเติลในเรื่อง My Fair Lady เค้าโครงเรื่องอีกประเภทหนึ่งคือเรื่องราวสะท้อนชีวิตความเป็นอยู่ที่แท้จริงของสังคม เช่นเรื่อง Cabaret, West Side Story, Chicago, สุนทรีย์ของละครบรอดเวย์ ละครบรอดเวย์มีจุดประสงค์ที่จะสร้างความบันเทิงเป็นอันดับแรก ผู้สร้างสรรค์ ผู้ผลิตต้องการสร้างความบันเทิงให้กับผู้ชม โดยพยายามทำให้การแสดงดูเป็นที่เข้าใจง่าย ผู้ชมสามารถรับรู้เรื่องราวที่ใกล้ตัว ทำให้รู้สึกสนุกเป็นที่ชื่นชอบ เมื่อได้รับการพัฒนารูปแบบ เนื้อหาสาระของละครมากขึ้น องค์ประกอบต่างๆ จึงเริ่มมีการสร้างสรรค์เพื่อเน้นความงามของศิลปะพัฒนาให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา จุดเด่นอีกประการหนึ่งของละครบรอดเวย์ที่ผู้ชมมักคาดหวังจากผู้จัดเสมอได้แก่ ฉาก และเครื่องแต่งกายอันตระการตา ผสมผสานกับพื้นฐานสำคัญในเรื่องการสร้างสรรค์เพลง และดนตรี รวมทั้งการเต้นที่มีการพัฒนาให้เหมาะสมกับเนื้อหาของเรื่อง ประกอบกับแสง สี เสียง และเทคนิคของการจัดฉาก การเปลี่ยนฉาก และความสดในการแสดงของนักแสดงที่มีความสามารถสูงทั้งในด้านการร้องเพลง การเต้นรำทำให้ละครบรอดเวย์เป็นที่ประทับใจในเรื่องของความแปลกใหม่ และเนื้อเรื่องของละครที่เป็นเรื่องใกล้ตัว ทำให้ผู้ชมสามารถติดตามเรื่องราวได้อย่างตลอด ดังตัวอย่างของละครบรอดเวย์ยอดนิยมเรื่อง The King and I เป็นละครบรอดเวย์ที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดตลอดกาล ตั้งแต่เริ่มแสดงครั้งแรกในปี 1951 แสดงติดต่อกัน 1,246 รอบ นักแสดงนำฝ่ายชายคือยูล บรินเนอร์แสดงนำทั้งหมด 4,625 รอบ ปัจจุบันละครบรอดเวย์ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนไม่สามารถสรุปได้ว่าจะมีจุดสูงสุดอยู่ที่ไหน เพราะมีการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัย มาปรับใช้ให้เข้ากับเรื่องราวและเหตุการณ์อยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ เครื่องยิงเลเซอร์ เครื่องสร้างภาพ 3 มิติ เครื่องสร้างปรากฏการณ์ธรรมชาติเทียม ทำให้ละครดูสมจริงสมจังมากขึ้นทุกที เป็นจุดเด่นที่ทำให้ผู้ชมชื่นชอบละครบรอดเวย์มาโดยตลอด ละครบรอดเวย์ทุกเรื่องก่อนที่จะนำมาแสดงที่โรงละครบนถนนบรอดเวย์ มักจะมีการทดลองแสดงตามที่ต่างๆ ก่อนและมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบต่างๆ ตามความคิดเห็นของผู้กำกับ ผู้ประพันธ์ดนตรี ผู้ประพันธ์เนื้อร้อง และผู้สร้างสรรค์ท่าเต้นตลอดจนทีมงานทุกคน ทำให้ละครเพลงได้รับการแก้ไขจนดูดี แล้วจึงนำมาแสดง ณ โรงละครบนถนนบรอดเวย์ ทำให้ละครบรอดเวย์มีคุณค่าและได้รับการยอมรับในเชิงศิลปการแสดงอย่างภาคภูมิ สุนทรีย์ของละครเพลงบรอดเวย์จึงอยู่ที่ความงดงามของตัวละครในขณะที่ทำการแสดง และอยู่ที่ความชื่นชมในคุณค่าความเป็นมนุษย์ที่สามารถสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างไม่น่าเชื่อว่า มนุษย์จะสามารถทำได้.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)